การป้องกันการสูบบุหรี่ในเยาวชน: มุมมองของครอบครัว Youth’s Smoking Preventions: Family’s View

ผู้แต่ง

  • ยุพา จิ๋วพัฒนกุล
  • นงนุช เพ็ชรร่วง

คำสำคัญ:

การป้องกัน, การสูบบุหรี่, เยาวชน, ครอบครัว, Prevention, smoking, youth, family

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา
แนวทางในการป้องกันการสูบบุหรี่ในเยาวชนโดยการมี
ส่วนร่วมของครอบครัว บิดา มารดา 36 คน ถูกคัดเลือก
แบบเจาะจงเพื่อเข้าร่วมการสนทนากลุ่ม แล้วจัดเวที
ประชาคม 1 ครั้ง โดยมีสมาชิกในชุมชน 54 คน ซึ่งมีเยาวชน
ในครอบครัวเข้าร่วม เพื่อปรับแนวทางในการป้องกันการ
สูบบุหรี่ในเยาวชนโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ใช้การ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา เพื่อพัฒนาแนวทางในการ
ป้องกันการสูบบุหรี่ในเยาวชน


ผลการวิจัยพบว่า ผู้ให้ข้อมูลเสนอแนวทางป้องกัน
การสูบบุหรี่ในเยาวชน 5 แนวทางคือ การส่งเสริมการทำ
หน้าที่ที่ดีในครอบครัว การสร้างกฎบ้านปลอดบุหรี่ การ
เสริมสร้างสายสัมพันธ์ในครอบครัว การเฝ้าดูเยาวชนไม่ให้
คบเพื่อนที่สูบบุหรี่ และการเสริมสร้างทัศนคติด้านลบเกี่ยว
กับการสูบบุหรี่ให้แก่เยาวชน
แนวทางที่ได้สามารถนำไปพัฒนาเป็นกลยุทธ์
สำหรับทีมสหวิชาชีพเพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ในเยาวชนที่มี
ประสิทธิภาพ ผู้กำหนดนโยบายสามารถปรับใช้ผลการวิจัย
เพื่อส่งเสริมกฎหมายต่อต้านการสูบบุหรี่ในเยาวชน
นอกจากนั้น ควรมีการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้าง
สายสัมพันธ์ในครอบครัว ส่งเสริมการทำหน้าที่ที่ดีใน
ครอบครัว และฝึกทักษะการต่อต้านการสูบบุห

-----------------------------

The purpose of this qualitative study was
to develop youth’s smoking prevention guidelines
by family participators. Purpose sampling was used
to recruit a sample of 36 parents for focus groups.
Then 54 villagers with youth in their family,
participated in a community meeting to revise the
guidelines. Content analysis was performed to
develop youth’s smoking prevention guidelines.
The findings revealed that participants
recommended five guidelines for preventing
youth’s smoking; 1) promoting healthy family
functioning, 2) creating smoke-free home rules,
3) strengthening of family bonding, 4) youth
guarding against association with peers who smoke,
and 5) enhancing adolescents’ negative smoking
attitudes.
Multidisciplinary health care providers can
apply the guidelines to develop effective strategies
for youth smoking prevention. Policy makers can
adapt the guidelines for promoting youth antismoking
laws. Moreover, further action research
should include strengthening of family bonding,
promoting healthy family functioning, and training
anti-smoking skills. In addition, the promoting
smoke-free home networks are recommended.