"As beautiful as you are told": A Critique on the Ideology of Natural Beauty in "The Body Project" Exhibition

Main Article Content

Maytawee Holasut

บทคัดย่อ

      This article critically analyzes the ideology of the presentation of natural
beauty of the female body in the temporary exhibition “The Body Project:
Beauty, Brutality and the Reasons Behind” using Louis Althusser’s framework
Ideology and Ideological State Apparatuses. This temporary exhibition was on
display from 24th June – 29th September, 2013, at Museum Siam – Thailand’s
leading “New Museum” that emphasizes interactivity and play, whereby visitors
interact with the narrative of the exhibition and objects on display for better
understanding of the exhibition’s message. Generally speaking, the exhibition is
successful in exposing the process of constructing and defining women’s beauty
as a product of a cultural construct or popular values of a certain context. The
exhibition presents this message via the association of the cultural process of
beautification with body mutilation. This message is then reified through the
exhibition’s spatial design to resemble an industrial factory, further laying bare,
in the Brechtian sense, the idea of culturally produced beauty. The exhibition
also organized various interactive opportunities to experience the process of the
construction of beautification. Finally, the notion of natural beauty is
accentuated in the final room as a stark contrast against culturally produced
beauty. The exhibition’s sudden turn toward natural beauty as a revocation
against body-modification, is in effect an ideological turn that exposes its
idealized vision of the female body as a kind of apolitical artifice for ideological

      บทความชิ้นนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิพากษ์วิจารณ์การนำ เสนอกระบวนการ
รังสรรค์ความงามผ่านการทำให้เสียโฉมในนิทรรศการ ไฉไลไปไหน? ที่จัดขึ้น
เป็นนิทรรศการชั่วคราวระหว่างวันที่ 24 มิถุนายน – วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556 ณ
มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์รูปแบบใหม่ที่พัฒนารูปแบบการนำเสนอเนื้อหาให้เน้น
การปฏิสัมพันธ์และการละเล่นกับพื้นที่และสิ่งของที่จัดวางในนิทรรศการเพื่อดึงดูดให้
ผู้เข้าชมรับสารจากเรื่องเล่าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นหากประเมินในภาพรวมแล้ว
นิทรรศการนี้ประสบความสำเร็จในแง่ของการเปิดโปงกระบวนการการประกอบสร้าง
ผลิตซ้ำการนิยามและการกำหนดคุณค่าความงามของร่างกายผู้หญิงว่าทั้งหมดนี้ล้วน
เป็นผลิตผลทางวัฒนธรรมและค่านิยมของสังคมในบริบทและช่วงเวลาหนึ่ง ๆ โดยผูก
ความหมายของการรังสรรค์ความงามของทุกบริบทสังคมวัฒนธรรมเข้ากับการทำให้ผิด
ธรรมชาติ ซึ่งนิทรรศการได้สื่อสารกรอบความคิดนี้ ผ่านการออกแบบพื้นที่ให้มี
ความคล้ายคลึงกับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อชี้ให้เห็นถึงนัยยะของการ “ผลิต” และยังได้
เปิดโอกาสให้ผู้ชมมีปฏิสัมพันธ์กับเรื่องเล่าผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่ถูกจัดวางไว้เป็นส่วน ๆ
อย่างเป็นระบบ แต่ถึงกระนั้น การที่นิทรรศการเชิดชูความงามตามธรรมชาติให้เป็น
คำตอบของการรังสรรค์ความงามทางวัฒนธรรมกลับเป็นความย้อนแย้งในตัวเอง
เนื่องจากตัวนิทรรศการละเลยที่จะวิพากษ์หรือเปิดโปงให้ผู้เข้าชมเห็นถึงสถานะและ
กระบวนการเล่าเรื่องที่มีส่วนร่วมในการผลิตอุดมการณ์ความงามตามธรรมชาติ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิชาการ