การเล่าเรื่องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ในภาพยนตร์รางวัลออสการ์ที่สร้างจากเค้าโครงเรื่องจริง

Main Article Content

จิราภา สมบูรณ์ [Jirapa Somboon]
รัฐพล ไชยรัตน์ [Rattapol Chaiyarat]

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเล่าเรื่องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชนในภาพยนตร์รางวัลออสการ์ที่สร้างจากเค้าโครงเรื่องจริง และเพื่อศึกษาลักษณะศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชนที่อยู่ในภาพยนตร์รางวัลออสการ์ที่สร้างจากเค้าโครงเรื่องจริง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์ตัวบท (Textual Analysis)
ซึ่งมีภาพยนตร์ด้วยกันทั้งหมด 3 เรื่อง ได้แก่ Argo แผนฉกฟ้าแลบ ลวงสะท้านโลก ปี พ.ศ. 2555, 12 Years a Slave
ปลดแอก คนย่ำคน ปี พ.ศ. 2556 และ Spotlight คนข่าวคลั่ง ปี พ.ศ. 2558 ผลการวิจัยพบว่า ภาพยนตร์รางวัลออสการ์
ที่สร้างมาจากเค้าโครงเรื่องจริงมีรูปแบบการเล่าเรื่องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชนผ่านโครงสร้างการเล่าเรื่องร่วมกันมากที่สุด คือ ฉาก (Setting) ส่วนลักษณะศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่ปรากฏอยู่ในภาพยนตร์รางวัลออสการ์ที่สร้างจากเค้าโครงเรื่องจริงที่มีร่วมกัน คือ 1) สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกายแสดงออกทางคำพูด 2) สิทธิและเสรีภาพ
ในชีวิตและร่างกายการแสดงออกทางความคิดผ่านการกระทำ 3) สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกายการแสดงตัวตน
ในสังคม 4) สิทธิและเสรีภาพการแสดงออกในการกระทำเพื่อบรรลุเป้าหมาย 5) สิทธิและเสรีภาพการแสดงออกในการกระทำเพื่อแสวงหาความก้าวหน้าในตนเอง 6) สิทธิและเสรีภาพการแสดงออกในการกระทำเพื่อบ่งบอกความเป็นตัวตน 7) สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลการเดินทาง 8) ความเสมอภาคในโอกาสในความมั่นคงของชีวิต 9) ความเสมอภาค
ทางสังคมเรื่องชาติพันธุ์ 10) ความเสมอภาคทางสังคมเรื่องศาสนา งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเล่าเรื่องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชนในภาพยนตร์รางวัลออสการ์ที่สร้างจากเค้าโครงเรื่องจริง และเพื่อศึกษาลักษณะศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชนที่อยู่ในภาพยนตร์รางวัลออสการ์ที่สร้างจากเค้าโครงเรื่องจริง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์ตัวบท (Textual Analysis) ซึ่งมีภาพยนตร์ด้วยกันทั้งหมด 3 เรื่อง ได้แก่ Argo แผนฉกฟ้าแลบ ลวงสะท้านโลก ปี พ.ศ. 2555, 12 Years a Slave ปลดแอก คนย่ำคน ปี พ.ศ. 2556 และ Spotlight คนข่าวคลั่ง ปี พ.ศ. 2558 ผลการวิจัยพบว่า ภาพยนตร์รางวัลออสการ์ ที่สร้างมาจากเค้าโครงเรื่องจริงมีรูปแบบการเล่าเรื่องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชนผ่านโครงสร้างการเล่าเรื่องร่วมกันมากที่สุด คือ ฉาก (Setting) ส่วนลักษณะศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่ปรากฏอยู่ในภาพยนตร์รางวัลออสการ์ที่สร้างจากเค้าโครงเรื่องจริงที่มีร่วมกัน คือ 1) สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกายแสดงออกทางคำพูด 2) สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกายการแสดงออกทางความคิดผ่านการกระทำ 3) สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกายการแสดงตัวตนในสังคม 4) สิทธิและเสรีภาพการแสดงออกในการกระทำเพื่อบรรลุเป้าหมาย 5) สิทธิและเสรีภาพการแสดงออกในการกระทำเพื่อแสวงหาความก้าวหน้าในตนเอง 6) สิทธิและเสรีภาพการแสดงออกในการกระทำเพื่อบ่งบอกความเป็นตัวตน 7) สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลการเดินทาง 8) ความเสมอภาคในโอกาสในความมั่นคงของชีวิต 9) ความเสมอภาคทางสังคมเรื่องชาติพันธุ์ 10) ความเสมอภาคทางสังคมเรื่องศาสนา 

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research article)

References

1. Amnesty International. (2012). Human rights ... Human dignity. Bangkok: Amnesty International.

2. Boon-arch, S. (2017). Form and theme of academy award films for best picture in 2010-2016. The Journal of Social Communication Innovation, 5(2), 81-91.

3. Chainam, R. (2011). Articles of human rights, history and language semantics. Bangkok: Pimaksorn.

4. Charoensin-o-larn, C. (2012). Semantics, structuralism, post structuralism and political science education. (2nd ed.). Bangkok: Wipasa.

5. Giannetti, L. (2017). Understanding movies (14th ed.). U.S.: Pearson.

6. Kaewthep, K. (1998). Culture: Communicate to create. Bangkok: Chulalongkorn University.

7. National Human Rights Commission. (2007). Declaration of human rights. Bangkok: National Human Rights Commission of Thailand.

8. Patintu, C. (2005). Learning process and human rights practice. Bangkok: Odean store

9. Peraprapakon, L. (2012). Study of themes and core ideas in movies, academy award for best film. Master thesis, M.A. (Communication Arts and Information), Kasetsart University, Bangkok.

10. Rights and Liabilities Protection Department. (2013). Analysis of situation information and linking to plan directions National Human Rights Issue 3 (2014-2018). Bangkok: Ministry of Justice.

11. Short, M. (2011). Context and narrative. Lausanne, Switzerland: AVA Academia.

12. Singkaneti, B. (2015). Basic principles about rights, freedom and human dignity (5th ed.). Bangkok: Winyuchon publishing.

13. Swangruangpisal, T. (2014). The presentation of American political culture in Oscar award Hollywood films. Master thesis, M.A., Kasetsart University, Bangkok.

14. Tatiyaworakulwong, P. (2010). Naration of and attitudes regarding violence in Thai and Hollywood films. Master thesis, B.A., Chulalongkorn University, Bangkok.

15. Thanawangnoi, C. (2001). Course material introduction to film production and production unit 1-8. Nonthaburi: The Office of the University Press Sukhothai Thammathirat Open University.

16. Theppatima, P. (2003). The transmission of the concept of the spirituality in films. Master thesis, B.A. (Communication Arts), Chulalongkorn University, Bangkok.

17. Tonsungnern, S. (2011). Public opinion on the rights and protection of Thai people: A case study: people in Bang Khen district, Anusawari, Bangkok. Master thesis, M.P.A. (Public Administration), Kasem Bundit University, Bangkok.

18. Turner, G. (2006). Film as social practice IV (studies in culture and communication) (4th ed.). Abingdon, U.K.: Routledge.