ภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง

Main Article Content

อาทิตยา อติวิชญานนท์

บทคัดย่อ

การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องเป็นการบำบัดทดแทนไตที่ได้รับการยอมรับว่ามีประสิทธิภาพ ปลอดภัย
และสะดวกต่อผู้ป่วยและญาติ ซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน แต่พบว่าผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องมี
ภาวะซึมเศร้าเกิดขึ้นได้สูงเนื่องจากปัจจัยต่างๆ ที่เกิดจากตัวผู้ป่วยและการเจ็บป่วย เช่น อายุที่เพิ่มขึ้น ความ
สามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลง ระยะเวลาในการล้างไตที่ยาวนาน การมีโรคร่วมอื่นๆ ขาดผู้ดูแล
และขาดการสนับสนุนทางสังคม ภาวะซึมเศร้าส่งผลให้เกิดปัญหาในการจัดการตนเองลดลง เกิดภาวะแทรกซ้อน
มีคุณภาพชีวิตลดลง และมีอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนเกี่ยวกับสถานการณ์ของ
ภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง สาเหตุและผลกระทบของภาวะซึมเศร้า รวมถึงบทบาท
พยาบาลในการป้องกันภาวะซึมเศร้า บทความนี้จะเป็นประโยชน์ต่อพยาบาลและผู้ดูแลในการช่วยเหลือผู้ป่วย
รวมทั้งครอบครัวเมื่อเกิดภาวะซึมเศร้าเพื่อป้องกันและลดความรุนแรง เช่น การคัดกรองเบื้องต้น การดูแลรักษา
ทางการแพทย์ และการทำจิตบำบัดสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

Article Details

บท
บทความปริทัศน์หรือการทบทวนวรรณกรรม

References

1. Nephrology Society of Thailand. Thailand
Renal Replacement Therapy Year 2014.
[Internet]. 2016 [accessed March 10, 2017].
Available from: http://www.nephrothai.org

2. ศิริอร สินธุ, รสสุคนธ์ วาริทสกุล, อรวมน ศรียุกต
ศุทธ. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่
รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้อง. วารสาร
พยาบาลศาสตร์. 2554; 29: 84-92

3. Chan, L. K., Yu, E. C. S., Li, S. Y. Depression
in patients receiving peritoneal dialysis. East
Asian Archives of Psychiatry. 2011; 21: 99-
107.

4. Ko GJ, Kim MG, Yu YM, Jo SK, Cho WY, Kim HK.
Association between depression symptoms
with inflammation and cardiovascular risk
factors in patients undergoing peritoneal
dialysis. Nephron Clin Pract. 2010; 116:
c29–c35. doi: 10.1159/000314548.

5. Li ZJ, An X, Mao HP, Wei X, Chen JH, Yang X,
Zhou SF, Li ZB, Yu XQ. Association between
depression and malnutrition–inflammation
complex syndrome in patients with
continuous ambulatory peritoneal dialysis.
Int Urol Nephrol. 2011; 43: 875-882. doi:
10.1007/s11255-011-9917-x.

6. Lin J, Guo Q, Ye X, Li J, Yi C, Zhang X, Wu X,
Cao P, Yu X, Zhu L, Lin X, Yang X, Yu X. The
effect of social support and coping style
on depression in patients with continuous
ambulatory peritoneal dialysis in southern
China. Int Urol Nephrol. 2013; 45: 527-35.
doi: 10.1007/s11255-012-0309-7. Epub 2012
Oct 11.

7. Zou H, Chen Y, Fang W, Zhang Y, Fan X.
The mediation effect of health literacy
between subjective social status and
depressive symptoms in patients with heart
failure. J Psychosom Res. 2016; 91: 33-39.
doi: 10.1016/j.jpsychores.2016.10.006. Epub
2016 Oct 19.

8. อาทิตยา อติวิชญานนท์, ภาวนา กีรติยุตวงศ์, สุภา
ภรณ์ ด้วงแพง. ปัจจัยทำนายการจัดการตนเองใน
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไต
ทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง. รามาธิบดีพยาบาลสาร.
2558; 21: 172-184.

9. Li H, Jiang YF, Lin CC. Factors associated with
self-management by people undergoing
hemodialysis: a descriptive study. Int J
Nurs Stud. 2014; 51: 208-16. doi: 10.1016/j.
ijnurstu.2013.05.012. Epub 2013 Jun 12.

10. Atalay H, Solak Y, Biyik M, Biyik Z, Yeksan
M, Uguz F, Guney I, Tonbul HZ, Turk S.
Sertraline treatment is associated with an
improvement in depression and healthrelated
quality of life in chronic peritoneal
dialysis patients. International Urology and
Nephrology. 2010; 42: 527-536.

11. Griva K., Kang AW, Yu ZL, Lee VY, Zarogianis
S, Chan MC, Foo M. Predicting technique
and patient survival over 12 months in
peritoneal dialysis: the role of anxiety
and depression. International Urology and
Nephrology. 2016; 48: 791-796.

12. พิชัย อิฎฐสกุล, ศิริไชย หงษ์สงวนศรี. โรคซึม
เศร้า. ใน: มาโนช หล่อตระกูล, ปราโมทย์ สุคนิ
ชย์, บรรณาธิการ. จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. พิมพ์
ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะ
แพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย
มหิดล; 2558. น. 167-189.

13. Lin YH, Yang Y, Chen SY, Chang CC, Chiu PF,
Huang CY. The depression status of patients
with end-stage renal disease in different
renal replacement therapies. International
Journal of Urological Nursing. 2011; 5: 14-20.

14. Bilgic A, Akman B, Sezer S, Ozisik L, Arat
Z, Ozdemir FN, Haberal M. Predictors for
quality of life in continuous ambulatory
peritoneal dialysis patients. Nephrology.
2008; 13: 587-592.

15. Baykan H, Yargic I. Depression, anxiety
disorders, quality of life and stress coping
strategies in hemodialysis and continuous
ambulatory peritoneal dialysis patients.
Klinik Psikofarmakoloji Bulteni-Bulletin of
Clinical Psychopharmacology. 2012; 22:
167-176. doi: 10.5455/bcp.20120412022430

16. Griva K, Kang AW, Yu ZL, Mooppil NK, Foo
M, Chan CM, Newman SP. Quality of life
and emotional distress between patients on
peritoneal dialysis versus community-based
hemodialysis. Qual Life Res. 2014; 23: 57-66.
doi: 10.1007/s11136-013-0431-8. Epub 2013
May 21.

17. Turkmen K, Guney I, Yazici R, Arslan S,
Altintepe L, Yeksan M. Health-related
quality of life, depression and mortality
in peritoneal dialysis patients in Turkey:
seven-year experience of a center.
Renal Failure. 2014; 36: 859-864. DOI:
10.3109/0886022X.2014.899874

18. Nabolsi MM, Wardam L, Al-Halabi JO.
Quality of life, depression, adherence to
treatment and illness perception of patients
on haemodialysis. Int J Nurs Pract. 2015; 21:
1-10. doi: 10.1111/ijn.12205. Epub 2013 Oct 11.

19. พิชัย อิฎฐสกุล, ปราโมทย์ สุคนิชย์.การใช้ยาและ
ECT. ใน: มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิ
ชย์, บรรณาธิการ. จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. พิมพ์
ครั้งที่4. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะ
แพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย
มหิดล; 2558. น. 442-480.

20. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. การพยาบาลบุคคลที่มีโรค
อารมณ์แปรปรวน. ใน: อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์,
ประภา ยุทธไตร, พวงเพชร เกษรสมุทร, วารีรัตน์
ถาน้อย, บรรณาธิการ. การพยาบาลจิตเวชศาสตร์
Psychiatric Nursing.กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง
แอนด์พับลิชชิ่ง; 2557. น. 375-424.

21. นงพงา ลิ้มสุวรรณ. การให้คำแนะนำปรึกษา.
ใน: มาโนช หล่อตระกูล, ปราโมทย์ สุคนิชย์,
บรรณาธิการ. จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. พิมพ์ครั้ง
ที่ 4. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะ
แพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย
มหิดล; 2558. น. 430-441.

22. สุนันทา เอ๊าเจริญ, ชิดชนก เทพพิทักษ์, ศศิสังวาลย์
ศรีสังข์, พระปลัดสมชาย ปโยโค, พระมหาวีรธิษณ์
วรินโท. ผลของโปรแกรมการลดภาวะซึมเศร้า
ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. วารสารสันติศึกษา
ปริทรรศน์ มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. 2560;5: 89-102.

23. โสภิต ทับทิมหิน และสมพร รุ่งเรืองกลกิจ. ผลการ
ให้การบำบัดแบบกลุ่มตามแนวพุทธธรรมต่อภาวะ
วิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
ที่รับการรักษาด้วยรังสีรักษา. วารสารสภาการ
พยาบาล. 2555; 27: 109-123.

24. ภูริพงษ์ เจริญแพทย์ และทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์.
ผลของโปรแกรมการใช้ดนตรีบำบัดร่วมกับการ
สนับสนุนทางสังคมต่อภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรค
พาร์กินสัน. วารสารสภาการพยาบาล. 2559; 31:44-55.

25. Kim HK, Kim KM, Nomura S. The effect of
group art therapy on older Korean adults
with Neurocognitive Disorders. The Arts
in Psychotherapy. 2016; 47: 48-54. Doi10.1016/j.aip.2015.11.002

26. อาคม บุญเลิศ. ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับ
ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชน เขต
รับผิดชอบของสถานบริการปฐมภูมิสามเหลี่ยม
จังหวัดขอนแก่น. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2559; 31:
25-33.

27. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. ครอบครัวบำบัดและการ
บำบัดเป็นรายครอบครัว. ใน: อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์,
ประภา ยุทธไตร, พวงเพชร เกษรสมุทร, วารีรัตน์
ถาน้อย, บรรณาธิการ. การพยาบาลจิตเวชศาสตร์
Psychiatric Nursing.กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง
แอนด์พับลิชชิ่ง; 2557. น. 203-214.