การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางคลินิกของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่ง เขตสุขภาพที่ 2

ผู้แต่ง

  • รุ่งทิพย์ สวัสดี นักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี 11120
  • สุทธีพร มูลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี 11120

คำสำคัญ:

การพัฒนารูปแบบ, การนิเทศทางคลินิกของหัวหน้าหอผู้ป่วย, หัวหน้าหอผู้ป่วย

บทคัดย่อ

ระบบการนิเทศที่มีประสิทธิภาพหัวหน้าหอผู้ป่วยจำเป็นต้องมีรูปแบบการนิเทศที่เหมาะสม การวิจัยและ พัฒนาครั้งนี้เพื่อศึกษาสถานการณ์นิเทศ การพัฒนารูปแบบการนิเทศ และประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ การนิเทศทางคลินิกของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่ง เขตสุขภาพที่ 2 การศึกษาสถานการณ์นิเทศ และการพัฒนารูปแบบการนิเทศใช้การสนทนากลุ่มกับหัวหน้าหอผู้ป่วยกลุ่มละ 8 คน คัดเลือกแบบเจาะจง เป็นหัวหน้ามามากกว่า 1 ปีประเมินความเหมาะสมของรูปแบบกับพยาบาลจำนวน 100 คน ซึ่งปฏิบัติงานใน โรงพยาบาลนี้ ตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป สุ่มตัวอย่างโดยจับสลากแบบไม่คืนที่ เครื่องมือ เป็นแนวสนทนากลุ่มเพื่อศึกษา สถานการณ์นิเทศและพัฒนารูปแบบการนิเทศทางคลินิกตามแบบจำลองการนิเทศเจ็ดตา วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา และแบบสอบถามความเหมาะสมของรูปแบบการนิเทศระดับความเชื่อมั่น 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยสถานการณ์นิเทศพบปัญหาการนิเทศ ได้แก่ หัวหน้าหอผู้ป่วยไม่ได้ทำการนิเทศเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วย ขาดความมั่นใจในการนิเทศ ต้องการแนวทาง แผน และคู่มือการนิเทศรูปแบบการนิเทศทางคลินิกที่พัฒนาขึ้น ทั้ง 7 ด้าน ได้แก่ ผู้ป่วย กิจกรรมการพยาบาล สัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยและพยาบาล พยาบาล สัมพันธภาพระหว่าง พยาบาลและหัวหน้าหอผู้ป่วย หัวหน้าหอผู้ป่วย และบริบทการนิเทศ รูปแบบการนิเทศที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสม ในระดับมากจึงควรนำรูปแบบการนิเทศที่พัฒนาขึ้นไปจัดทำเป็นคู่มือ จัดอบรมและนำไปใช้ในหอผู้ป่วยต่อไป

References

1. Sirinakorn R. Clinical Supervision.2011. [cited 2018 June 15] Avialable from:URL:https://www.si.mahidol.ac.th/Th/division/nursing/NDivision/N_qd/admin/download_files/3_72_1.pdf

2. Thienthong H. Quality in every breath Nursing Supervision of SuanDok. 17th HA National Forum. 2018, 8-11 March. Nonthaburi: Impact Center Muang Thong Thani.

3. Bunyathap M. Supervisory behaviors of head nurses as perceived by themselves and staff nurses Lampang Hospital.J Nurs Div 2010;37(3):64-78.

4. Ruamjit P. The development of a nursing supervision model in WiengKan Hospital. 2007. [cited 2018 June 15]Avialable from: URL:https://doi.nrct.go.th//ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/STOU.the.2007.331

5. Chomsiri A. The Development of Nursing Supervision program model for Head Nurses in Kuchinarai Crown Prince Hospital, Kalasin Province.Chonburi: Burapha University; 2011.[cited 2018 June 15] Avialable from:http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/
files/52920728/title.pdf

6. Supanpayob P, Sukadisai P. Amphon K. Developing a Nursing Supervision Model of the Nursing Division in Phrapokklao Hospital. J NursEduc 2011;6(1):12-26.

7. Hawkins P, Shohet R. Supervision in the Helping Professions (Supervision in Context). 4th ed. Maidenhead: Open University Press; 2012.

8. Peter T. Sampling method for applied research: Text a case. Hardcover: John Wiley & Sons. 1996.

9. Luethongjak S. Development of The Unofficial-Time Nursing Supervision Model Kalasin Hospital. 2009.[cited 2018June 15] Avialable from: URL: https://opac.kku.ac.th/catalog/BibItem.aspx?BibID=b00318017.

10. Nursing Division Ministry of Public Health. Standard of Nursing in Hospital. 2ndupdate.3nd th.Bangkok:Veterans Relief Organization. Avialable from: URL:http://sknurse.org/PDF/QA/StandardOfhospital.pdf

11. Tripidok S. Hingkanont P. The Relationships between the Effectiveness of Supervision of Head Nurses and Patient Safety and Satisfaction on being Supervised of Professional Nurses at BhumibolAdulyadej Hospital.2008.[cited 2018 June 15]Avialable from:URL:https://dric.nrct.go.th/index.php?/Search/SearchDetail/216395.

12. Pinyopasakul W.The development of health care model in the nursing service system. In Course setPotential development Nursing service system, 2011(Unit 8, page8-5) Nonthaburi: SukhohaiThammathiratOpen University.

13. Correia WJ, Marrow CE.Clinical supervision in nursing practice:A comparative study in Protugal and the United Kingdom. Sanare, Sobral 2012;11(2):16-24.

14. Eiumargaht D. Effect of The Use of Clinical Nursing Supervision of Head Nurse that Integrated Collaboration Concepts on Perceived Nursing Outcome as Reported by Professional Nurses. Bangkok: St. Louis college; 2010.

15. Puangdee N. Wisesrith W. Experience of head nurses in using humor to manage tense situations Management in patient unit. Kuakarun J Nurs 2017;29(1):55-69.

16. Sriyanlak N. Nursing Administration. Bangkok:Prachumchang; 2002.

17. Wiradechkampol U. Moolsart S. Effectiveness of a Supervision Program for Head Nurses at Kampangsaen Hospital, Nakornpathom Province. The 4th STOU Graduate Research Conference. [cited 2018 June 15] Avialable from: URL:https://www.stou.ac.th/thai/
grad_stdy/masters/%E0%B8%9D%E0%B8%AA%E0%B8%AA/research/4nd/FullPaper/HS/Oral/O-HS%20016%20% E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8 %87%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%B2%20%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3 %E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%9E% E0%B8%A5.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-31