Development of a System of Standards for the Training Process of New Thai Government Officials during the Work Trial Period (การพัฒนาระบบมาตรฐานกระบวนการจัดฝึกอบรมข้าราชการไทยก่อนปฏิบัติราชการ)

Authors

  • วิลาสลักษณ์ ชัววัลลี
  • อังศินันท์ อินทรกำแหง

Abstract

The objectives of this research and development were to 1) establish a system of standards for the development process of new government officials during the work trial period in all parts of Thailand; 2) monitor and evaluate the training processes according this system of standards for new government officials based on CIPP Model. Using stratified random sampling, 271 new government officials from 3,000 population from 3 universities were participants in this study. They were 96 officials trained in northern, 93 trained in northeastern, and 82 trained in southern part of Thailand. The research process was divided into 3 phases formulating a system of standards draft, examining the quality of standards draft by 25 experts, and evaluating a system of standards in order to improve the standards. Instruments in this research were knowledge, attitudes, and behaviors measures (Alpha Coefficient =.82 to .90). Data were analyzed by utilizing t-test. The results founded 15 standards with 30 criteria and 148 indicators as guides to training practice which were follows: 1) institute and development team; 2) development curriculum; 3) lectures/trainers; 4) manual of the development curriculum and manual for lecturers; 5) office of new officials’ original affiliation; 6) document used in training; 7) training environment, and facilities; 8) evaluation instruments; 9) management of the development processes; 10) socializing process of the lecturers; 11) learning and participating of new officials; 12) evaluation during training; 13) new officials after participating the development processes; 14) report of the development program evaluation; and 15) advisory channels for new officials. In addition, after the training, it was found that the participants were better in knowledge, work performance during the training and behaviors based on government creative values after one month training than those before the training (p< .001). However, there was no significant increment of attitude towards being good government officials.

Keyword: Training system standards, New government officials, CIPP model, Research and Development, Creative values

บทคัดย่อ

การวิจัยและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างระบบมาตรฐานกระบวนการจัดฝึกอบรมข้าราชการ ก่อนปฏิบัติราชการของวิทยาลัยข้าราชการพลเรือนสำนักงาน ก.พ. ให้มีประสิทธิภาพส าหรับใช้เป็นมาตรฐาน ในทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และ 2) ประเมินผลการจัดฝึกอบรมข้าราชการก่อนปฏิบัติราชการตามโมเดล CIPP กลุ่มตัวอย่าง 271 คนจากข้าราชการใหม่ 3,000 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิตามภูมิภาค ได้แก่ 1) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จัดอบรมให้ข้าราชการใหม่ในภาคเหนือ 96 คน 2) มหาวิทยาลัยมหาสารคามจัดอบรมให้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 93 คน และ 3) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดอบรมข้าราชการใหม่ในภาคใต้ 82 คน มีขั้นตอนการพัฒนา 3 รอบเริ่มจากจัดทำร่างมาตรฐานจากการทบทวนวรรณกรรม ตรวจสอบร่างมาตรฐานโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ครั้งรวม 25 คนและน าไปทดลองใช้โดยมหาวิทยาลัย 3 แห่ง สุดท้ายดำเนินการประชาพิจารณ์กับหน่วยงานเครือข่ายผู้จัดอบรมเดิมและใหม่ เครื่องมือวิจัยที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ แบบวัดความรู้ แบบสอบถามเจตคติและพฤติกรรมการเรียนรู้และ การปฏิบัติงานโดยมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Cronbach’s Alpha Coefficient) ทั้งฉบับเท่ากับ .82 ถึง .90 ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และวิเคราะห์สถิติค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ได้มาตรฐานกระบวนการจัดฝึกอบรมข้าราชการก่อนปฏิบัติราชการ 15 ข้อ ประกอบด้วยข้อกำหนดหลักเกณฑ์ 30 ข้อ วัดจากตัวบ่งชี้รวม 148 ตัวประกอบด้วย 15 มาตรฐาน คือ ม. 1 หน่วยงานผู้จัดฝึกอบรม ม. 2 หลักสูตรฝึกอบรม ม.3 วิทยากร ม. 4 คู่มือหลักสูตรฝึกอบรม ม. 5 หน่วยงานต้นสังกัดของผู้เข้าอบรม ม. 6 เอกสารการฝึกอบรม ม. 7 สถานที่และสิ่งอ านวย ความสะดวกม. 8 เครื่องมือประเมินผล ม. 9 กระบวนการบริหารจัดการ ม. 10 กระบวนการถ่ายทอดความรู้ ม. 11 การเรียนรู้ และมีส่วนร่วมของผู้เข้าอบรม ม. 12 การประเมินผลระหว่างการฝึกอบรม ม. 13 ประเมินหลังสิ้นสุดการอบรม ม. 14 เอกสารรายงานฝึกอบรมและ ม. 15 ช่องทางการให้คำปรึกษาวิชาการแก่ผู้เข้าอบรม หลังสิ้นสุดอบรม 2) ภายหลังอบรม พบว่าผู้เข้าอบรมมีความรู้ พฤติกรรมเรียนรู้ระหว่างอบรม พฤติกรรมตามค่านิยมสร้างสรรค์และสมรรถนะหลักของข้าราชการในระยะติดตามพฤติกรรม 1 เดือน เพิ่มขึ้นกว่าก่อนเข้าอบรม (p < .001) และมีเจตคติต่อระบบราชการเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ

คำสำคัญ: มาตรฐานการฝึกอบรม ข้าราชการใหม่ โมเดลซิปป์ การวิจัยและพัฒนา ค่านิยมสร้างสรรค์

Downloads

How to Cite

ชัววัลลี ว., & อินทรกำแหง อ. (2013). Development of a System of Standards for the Training Process of New Thai Government Officials during the Work Trial Period (การพัฒนาระบบมาตรฐานกระบวนการจัดฝึกอบรมข้าราชการไทยก่อนปฏิบัติราชการ). The Periodical of Behavioral Science, 19(2). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/BSRI/article/view/19403