วรรณกรรมศึกษาตุลาการ: โลกทัศน์ต่อตุลาการใน “พี่น้องคารามาซอฟ” Literature and Judicial Studies: Judicial Paradigm in the Brothers of Kalamazov

Main Article Content

กฤษณ์พชร โสมณวัตร

บทคัดย่อ

การศึกษากฎหมายในสังคมไทยปัจจุบันมักให้ความสำคัญกับตัวบทกฎหมาย และปัจจัยเชิงภววิสัยเป็นหลัก หรือแม้แต่การศึกษาที่ได้ชื่อว่าการศึกษากฎหมายกับ สังคม ซึ่งเป็น “ทางเลือก” ที่ขยายพรมแดนของการทำความเข้าใจกฎหมายไปสู่การ ทำความเข้าใจชีวิตและสังคมบ้างแล้วก็ตาม ขอบเขตของการทำความเข้าใจยังปราศจาก ปัจเจกภาพในการศึกษากฎหมาย ตลอดจนเงื่อนไขทางด้านอารมณ์และความรู้สึก ด้วย เหตุนี้เอง การศึกษากฎหมายกับวรรณกรรม เป็นแนวทางการศึกษากฎหมายอย่างหนึ่ง ที่สามารถช่วยเติมเต็มและเพิ่มความเป็นมนุษยศาสตร์ในองค์ความรู้ด้านกฎหมายอีก ทอดหนึ่ง ในบทความชิ้นนี้ เป็นการทดลองศึกษากฎหมายกับงานวรรณกรรมด้วยใช้ วรรณกรรมเรื่อง พี่น้องคารามาซอฟ ฟีโอโดร์ ดอสโตเยฟสกี ซึ่งแสดงให้เห็นได้ว่ามนุษย์ ที่อยู่ภายใต้กฎหมายนั้นมีปัจเจกภาพอย่างลึกซึ้ง มนุษย์อย่างฟีออดอร์ คารามาซอฟ, ดมิตรี, อีวาน, ซอสซิมา และอโลชา มีรากฐานทางความคิดตลอดจนประสบการณ์ชีวิต ส่วนตนที่ส่งผลกับพฤติกรรมและสำนึกต่อระเบียบสังคมและกฎหมายที่ต่างกัน ใน บรรดาปัจเจกภาพที่ หลากหลาย ดอสโตเยฟสกี ได้บรรยายลั กษณะของมนุษย์ที่มีอำนาจ ในการตัดสินหรือตุลาการว่า สุดท้ายแล้วเหตุผลและระเบียบกฎเกณฑ์อาจไม่ใช่คำตอบ สำหรับการระงับความขัดแย้ง เพราะมีเพียงมนุษย์อย่าง อโลชาเท่านั้นที่เปิดใจและ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของปัจเจกที่มีความหลากหลายได้ และบุคลิกภาพที่สำคัญ ที่สุดของ อโลชาที่ใช้ในการสัมพันธ์กับมนุษย์คนอื่น คือ “ความรัก”

 

In general, Thai legal education focuses on statutory law and objective data. Even though later on, Thai legal education expands to law and society studies, as alternative methodology to understand the society holistically, still has no subjectivity, and humanism in legal education. Hence, law and literature as one of the legal research methodology confidently fulfills sentimental gap in legal studies. This paper applies “The Brother of Karamazov” of Fyodor Dostoyevsky to examine the relation between law and literature, with law and humanity. The fiction expresses that human, under legal power, has very deep subjectivity. Dostoyevsky explains persons like Fyodor Karamasov, Dmitri, Ivan, Father Zosima and Alyosha have different personal background and experiences. However, these individuals are not important characteristics of judge. Alyosha Karamazov is the only person who could be the ideal judge, because of his love to humankind.

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Francis Fukuyama. The Origins of Political Order. New York: Profile Book, 2012.

Gary Carey and James L. Robert. The Brother of Karamazov Note. London and Nebraska: Cliff’s Note, 1967..

George Ritzer, “Professionalization, Bureaucratization and Rationaliza¬tion: The Views of Max Weber” Social Force 53:4, page 628.

James Boy White. The Legal Imagination. Chicago and London: the University of Chicago Press, 1973.

Jane B. Baron, “Law, Literature, and the problems of Interdisciplinar¬ity” The Yale Law Journal 108:5, 1999 (March), page 1059-1085.

Max Weber, “Politics as Vocation” in Max Weber’s Complete Writing on Academic and Political Vocation, (New York: Algora Pub¬lishing, 2008), page 155-158.

Richard A. Posner, “Law and Literature: A Relation Reargued” Virginia Law Review, Vol. 72:8, 1986. Page 1351-1392.

กฤษณ์พชร โสมณวัตร, “การก่อรูปของอำนาจปัญญาชนนักกฎหมายไทย”, ชุมทางอินโดจีน 4,7/2558 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 5-21.

กฤษณ์พชร โสมณวัตร, “อำนาจแห่งอัตลักษณ์ตุลาการ” , นิติสังคมศาสตร์ 7,1/2557 (มกราคม-มิถุนายน): 77-120.

กฤษณ์พชร โสมณวัตร. นิติสำนึกต่อ ‘โทษจำคุก’ ของพลเมืองผู้ดื้อแพ่งต่อ กฎหมาย: ประเด็นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. วิทยานิพนธ์นิติ ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2555.

กุหลาบ สายประดิษฐ์. ลูกผู้ชาย. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, 2530.

เกษมสันต์ วิลาวรรณ. คนตัดสินคน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2555.

จรัญ โฆษณานันท์. นิติปรัชญา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2531.

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์, “ย่างศพทารก: วิพากษ์ความรุนแรงเชิงวัฒนธรรมใน สังคมไทย” ใน อาวุธมีชีวิต: แนวคิดว่าด้วยการวิพากษ์ความรุนแรง. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน, 2546.

นพพร ประชากุล. ยอกอักษร ย้อนความคิด เล่ม 2: ว่าด้วยสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์. กรุงเทพฯ: วิภาษา, 2552.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. ปากไก่และใบเรือ:รวมความเรียงว่าด้วยวรรณกรรมและ ประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์.นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2555.

ประจักษ์ ก้องกีรติ. และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ: การเมืองวัฒนธรรม ของนักศึกษาและปัญญาชนก่อน 14 ตุลาฯ.นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556.

ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี, “สถาบันตุลาการ กระบวนการยุติธรรม กับประชาชน” ใน เลาฟั้ง บัณฑิตเทิดสกุล (บรรณาธิการ). แม่อมกิ: ชีวิตแห่งผืนป่า กับมายาคติในกระบวนการยุติธรรม. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์,2558. หน้า 126-129.

ฟรานซ์ คาฟกา, ศักดิ์ บวร (แปล). แสงริบหรี่ที่ปลายอุโมงค์. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 2558.

ฟีโอดอร์ ดอสโตยเยียฟสกี้, ศ.ศุภศลป์ (แปล). อาชญากรรมกับการลงทัณฑ์. กรุงเทพฯ: สมิต, 2537.

ฟีโอโดร์ ดอสโตเยฟสกี, สดใส (แปล). พี่น้องคารามาซอฟ. กรุงเทพฯ: ทับหนังสือ, 2545.

สมชาย ปรีชาศิลปกุล. การวิจัยกฎหมายทางเลือก: แนวคิดและพรมแดนความ รู้. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2558.

สมชาย ปรีชาศิลปกุล. นิติศาสตร์ไทยเชิงวิพากษ์. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2549.

สุวรรณา สถาอานันท์ (บรรณาธิการ). ความเป็นธรรมเชิงวรรณศิลป์. กรุงเทพฯ: วิภาษา, 2552.

เสนีย์ เสาวพงษ์. ปีศาจ. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์, 2543.

Translated Thai References

Chaiwat Satha-anan, “Burn the Infant’s Corpse: Critical on Cultural Violence in Thai Society” in Life as Weapon: Concept of Critical on Violence. Bangkok: Samesky, 2003. (in Thai)

Franz Kafka, Sak Bavon (tran.). The Trial. Bangkok: Kledthai, 2015. (in Thai)

Fyodor Dostoyevsky. S. Supasin (trans.). Crime and Punishment. Bangkok: Samit, 1994. (in Thai)

Fyodor Dostoyevsky. Sodsai (trans.). Brother of Karamazov. Bangkok: Tabnungsue, 20002. (in Thai)

Jaran Kosananun. Legal Philosophy. Bangkok: Ramkamhang, 1988. (in Thai)

Kasemsan Wilawan. The Judge. Bangkok: Vinyuchon, 2012. (in Thai)

Kitpatchara Somanawat, “Power Formation of Thai Legal Intellectu¬als”, chum tan indojean 4,7/2016 (July-December): 5-21. (in Thai)

Kitpatchara Somanawat, “Power of Thai Judge’s Identity”, nitisank¬omsart 7,1/2015 (January-June): 77-120. (in Thai)

Kitpatchara Somanawat. Legal Consciousness of Civil Disobedience on Imprisonment: Issues of Natural Resource Management. Master of Law Dissertation, Chiang Mai University, 2012. (in Thai)

Kularp Saipradit, Manhood. Bangkok: Dokya, 1987. (in Thai)

Nidhi Eawsriwong. Pen and Sail: Literature and History in Early Bangkok. Nontaburi: Samesky, 2012. (in Thai)

Nopporn Prachakun. Paradox of Word and Thought 2: On Social Science and Humanity. Bangkok: Vipasa, 2009. (in Thai)

Pinkaew Rueang Aramsri, “Judicairy, Judicial Process and the People” in Laofang Bunditteadsakul (eds.). Mae Omki: Life of the Forrest and Myth in Judicial Process. Bangkok: Pabpim, 2015. (in Thai)

Prachak Kongkejati. And then the Uprising has Emerged: Cultural Politics of Students and Intellects before Oct,14. Nontaburi, Samesky, 2013. (in Thai)

Saenee Saowapong. Monster. Bangkok, Sangsan, 2000. (in Thai)

Somchai Preechasilpakul. Alternative Legal Research: Concept and State of Knowledge. Bangkok: Vinyuchon, 2015. (in Thai)

Somchai Preechasilpakul. Critical Thai Legal Studies. Bangkok: Vinyuchon, 2006. (in Thai)

Suwanna Satha-anan (eds.). Literary Justice. Bangkok: Vipasa, 2009. (in Thai)