การสร้างเครือข่ายธุรกิจที่มีศักยภาพ: กรณีศึกษาเครือข่ายเครื่องนุ่งห่มและเสื้อผ้าในต่างประเทศ

ผู้แต่ง

  • พนารัช ปรีดากรณ์, ผศ. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • สุภาวดี เหล่าฤทธิรัตน์, ผศ. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

คำสำคัญ:

เครือข่ายธุรกิจ, ห่วงโซ่คุณค่า, คลัสเตอร์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวทางที่เป็นกรอบคิดในการสร้างเครือข่ายธุรกิจประกอบด้วยแนวทางห่วงโซ่คุณค่า (value chain approach) และแนวทางการรวมกลุ่มเป็นเครือข่าย แบบคลัสเตอร์ (cluster approach) ซึ่งสามารถผนวกแนวคิดทั้งสองเพื่อนำมาดำเนินการสร้างเครือข่ายธุรกิจอย่างเป็นรูปธรรม และเพื่อให้เห็นถึงต้นแบบการนำแนวคิดดังกล่าวไปสร้างเครือข่ายธุรกิจจนประสบผลสำเร็จ เสื้อผ้าของแคนาดาและเครือข่ายธุรกิจแฟชั่นและเสื้อผ้าในเนเธอร์แลนด์ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อการสร้างเครือข่าย โดยลงรายละเอียดอย่างใกล้ชิดไปที่กิจกรรมภายในห่วงโซ่คุณค่า บทเรียนจากตัวแบบนี้สามารถนำไปเพิ่มมุมมองทางความคิดและการวิเคราะห์ให้กับแนวทางการสร้างเครือข่ายธุรกิจต่อไปได้

References

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยคณะเศรษฐศาสตร์. (2555). รายงานฉบับสมบูรณ์กิจกรรมการสร้างเครือข่ายสมาคมการค้ารายกลุ่มธุรกิจโครงการพัฒนาสถาบันการค้าและสร้างเครือข่ายธุรกิจไทยรองรับ AEC ประจำปีงบประมาณ 2555. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์.

Michel Lefèvre. (2004). Textiles and Clothing Cluster. Communauté métropolitaine de Mon. October 2004.

Melika Levelt. (2006). Trade Clusters and Value Chains in the Netherlands: The Case of Fashion and Clothing. Paper to be presented at the DRUID Summer Conference 2006 on Knowledge, Innovation and Competitiveness: Dynamics of Firms, Networks, Regions and Institutions. Copenhagen, Denmark, June 18-20, 2006.

Michael E.Porter. (2000). Location, Competition, and Economic Development: Cluster in a Global Economy. Economic Development Quarterly February, February 2000: 15-34.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01-08-2018