โมเดลการบริหารความปลอดภัยขององค์กรการพยาบาล โรงพยาบาลระดับตติยภูมิในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ลัดดาวรรณ เสียงอ่อน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

การบริหารความปลอดภัย, องค์กรการพยาบาล, โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลการบริหารความปลอดภัยขององค์กรการพยาบาล โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในประเทศไทย ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แนวคิดการบริหารความปลอดภัยของ International Civil Aviation Organization ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูล หลักซึ่งเป็นผู้บริหารกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 9 คน ที่มีประสบการณ์ด้านการประกันคุณภาพ การบริหารความปลอดภัย หรือการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาของข้อมูลรวมทั้งทบทวนวรรณกรรม เพื่อนำมาสร้างเป็นกรอบแนวคิดการวิจัยและสร้างข้อคำถามของแบบ  สอบถามหัวข้อ การบริหารความปลอดภัยขององค์กรการพยาบาล แล้วนำไปใช้เก็บข้อมูลจากผู้บริหารกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในประเทศไทยจำนวน 20 แห่ง จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 229 คน ได้ทำการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาคของแบบสอบถามการวิจัยได้ 0.97 ข้อมูลการวิจัยวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานด้วยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

          ข้อค้นพบการวิจัย แสดงว่าโมเดลการบริหารความปลอดภัยขององค์การพยาบาล โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในประเทศไทยมี 6 ด้าน เรียงลำดับค่าน้ำหนัก ดังนี้ (1) ด้านการประกันความปลอดภัย (2) ด้านการบริหารความเสี่ยงด้านความปลอดภัย (3) ด้านนโยบายและวัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย (4) ด้านการสื่อสารและช่องทางการสื่อสาร (5) ด้านการส่งเสริมความปลอดภัย  20 ตัวบ่งชี้ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน    (Confirmatory Factor Analysis: CFA)  พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับดีมาก  mydamdo (X2 /df =0.96,   X2 = 123.41, df = 129, p-value = 0.62, GFI = 0.95, AGFI = 0.92, RMSEA = 0.00) จากข้อค้นพบจากงานวิจัยเสนอแนะว่าผู้บริหารกลุ่มการพยาบาลควรนำโมเดลการบริหารความปลอดภัยขององค์กรการพยาบาลที่ได้จากงานวิจัยไปบูรณาการกับระบบการประกันคุณภาพของโรงพยาบาลที่มีอยู่เดิม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารความปลอดภัย และนำโมเดลการบริหารความปลอดภัยขององค์กรการพยาบาลทั้ง 6 องค์ประกอบไปใช้เป็นหัวข้อในการอบรมและการปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ เพื่อให้บุคลากรได้ตระหนักรู้ และเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในการบริหารความปลอดภัยและ (6) ด้านการจัดอัตรากำลังและการตระหนักในเรื่องความปลอดภัย แบบสอบถามประกอบด้วย 40 ข้อคำถาม โดยต้องมีการประเมินความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง และมาตรการควบคุมความเสี่ยงด้านความปลอดภัยที่เป็นกระบวนการช่วยให้เกิดความปลอดภัยทั้งต่อตัวผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ และ (2) การสื่อสารและช่องทางการสื่อสารงานด้านความปลอดภัย โดยควรจัดให้มีระบบการนิเทศ การกำกับติดตามการทำงานของพยาบาล เพื่อช่วยให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัย โดยต้องมีการประเมินความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง และมาตรการควบคุมความเสี่ยงด้านความปลอดภัยที่เป็นกระบวนการช่วยให้เกิดความปลอดภัยทั้งต่อตัวผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ

References

จันดี ขยับรุ่งเรือง. (2549). การวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะของนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามความต้องการขององค์การ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ชาย โพธิสิตา. (2554). ศาสตร์และศิลป์แห่งการสัมภาษณ์เชิงลึก. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2544). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: เทพนิมิตการพิมพ์.

พจนา รุ่งรัตน์ (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้และทัศนคติเรื่องการบริหารความเสี่ยงกับการปฏิบัติตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงของบุคลากรทางการพยาบาลโรงพยาบาลบ้านค่าย จังหวัดระยอง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 25(2), 74-84.

เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย. (2549). หลักการและการใช้สถิติการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัวสำหรับการวิจัยทางการพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 3. สงขลา : ชานเมืองการพิมพ์.

ภัทร์ธิตา โภคาพันธ์ สงครามชัย ลีทองดี และชาญชัย ติกขะปัญโญ. (2555). การพัฒนาคุณภาพระบบการจัดการความเสี่ยงด้านคลินิกตามมาตรฐานงานบริการผู้ป่วยในของพยาบาล โรงพยาบาลค่ายสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารพยาบาลทหารบก. 13(2), 38-48.

Creswell, J. W. (2014). A concise introduction to mixed methods research. Sage Publications.

Gurses, A. P., Carayon, P., & Wall, M. (2009). Impact of performance obstacles on intensive care nurses' workload, perceived quality and safety of care, and quality of working life. Health services research, 44(2p1), 422-443.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E & ham Ronald L.(2010). Multivariate Data analysis. 7th ed. New Jersy: Prentice Hall.

International Civil Aviation Organization [ICAO]. (2009). Safety Management Manual (SMM), 2nd ed.(Doc 9859 AN/474). Montreal, Canada: ICAO.

International Civil Aviation Organization [ICAO]. (2013). Safety Management Manual (SMM), 3rd ed.(Doc 9859 AN/474). Montreal, Canada: ICAO.

Lee, W.-C., Wung, H.-Y., Liao, H.-H., Lo, C.-M., Chang, F.-L., Wang, P.-C., . . . Hou, S.-M. (2010). Hospital safety culture in Taiwan : A nationwide survey using Chinese version safety attitude questionnaire. BMC health services research, 10(1), 234.

Roelen, A. L. C., & Klompstra, M. B. (2012). The challenges in defining aviation safety performance indicators. PSAM and ESREL, Helsinki, Finland.

Sahebalzamani, M., and Mohammady, M. (2014). A study of patient safety management in the framework of clinical governance according to the nurses working in the ICU of the hospitals in the East of Tehran. Iranian Journal of Nursing and Midwifery Research,19(3), 295-300.

Schubert, E. H?ttig, G. & Lehmann, O. (2010). Introduction to Safety Management Concepts with Focus on Airline and Airport Operation. Simposio De Transporte Aereo Manaus,27 (29), 1-12.

Yamane, Taro. 1967. Statistics, An Introductory Analysis, 2nd Ed., New York: Harper and Row.

Yang, C. C., Wang, Y. S., Chang, S. T., Guo,S. E. & Huang, M. F. (2009). A Study on the Leadership Behavior, Safety Culture, and Safety Performance of the Healthcare Industry. World Academy of Science, Engineering and Technology, (29), 1142-1149.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31