การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนปริยัติธรรมกลุ่มที่ 5 สู่ความเป็นเลิศ

Authors

  • จิณณวัตร กิ่งแก้ว หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • สมบัติ คชสิทธิ์ หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

Keywords:

การบริหารโรงเรียน, โรงเรียนพระปริยัติธรรม, school management, prapariyatdham school

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหาร และพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาสู่ความเป็นเลิศ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูผู้สอนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก สามัญศึกษา กลุ่มที่ 5 จำนวน 181 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถามและการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลมากด้านการบริหารวิชาการ คือ สถานศึกษามีการกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมายการจัดการงานวิชาการสู่ความเป็นเลิศ ( \bar{x} = 3.38, SD 0.96) ปัจจัยด้านการบริหารงานบุคคลที่ส่งผลมาก คือ ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการของโครงการ พัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ( \bar{x} = 3.11, SD = 0.99) ปัจจัยด้านการบริหาร งบประมาณที่ส่งผลมาก คือ ความโปร่งใสในทางการเงิน การกำหนดรายการและโครงสร้างทางการบัญชีเอกสาร หลักฐาน มีระบบควบคุม การเบิกจ่ายและบริหารจัดการงบประมาณที่มี ( \bar{x} = 3.26, SD = 1.00) และปัจจัยที่ส่งผลมากด้านบริหารงาน ทั่วไป คือ มีการวัดและประเมินผลการดำเนินงาน โดยประเมินตามตัวชี้วัด (KPI) และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และ มีการประเมินสภาพองค์กร หรือการวิเคราะห์องค์กร (SWOT) ศึกษาและประเมินโรงเรียนโดยวิเคราะห์จากจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของโรงเรียน และพัฒนาคู่มือการพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ( \bar{x} = 3.38, SD = 1.02)

 

A Management Model of Phrapariyapariyatdham School Group 5 Towards the Excellence

The purpose of this research were to: study the management model of Prapariyatdham school towards the Excellence. The samples of this research were 181 teachers in Prapariyatdham school group 5. The data-collecting instruments was questionnaires and focus group. Statistics were analyzed using mean and standard deviation The research findings were summarized as follows: In academic affairs administration; to specify vision, task and aim were highest level ( \bar{x} = 3.38, SD = 0.96). For personnel affairs administration; to promote and support from the administrator on any process were highest level ( \bar{x} = 3.11, SD = 0.99) . For budget affairs administration; to reveal in financial statement and accounting were highest level ( \bar{x} = 3.26, SD = 1.00). For general affairs administration; Evaluation and Assessment according to indicator KPI and development continuously were highest level. To develop a development of management model in ordinary sector of Prapariyatdham School towards the Excellence handbook ( \bar{x} = 3.38, SD = 1.02).

Downloads

Issue

Section

บทความวิจัย