ธรรมรัฐกับความเป็นวิชาชีพนักรัฐประศาสนศาสตร์

Authors

  • อารี ผสานสินธุวงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

Keywords:

ธรรมรัฐ, วิชาชีพนักรัฐประศาสนศาสตร์, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, Governance, Public Administrator Vocation, Policy Implementation

Abstract

ธรรมรัฐ (Governance) เป็นข้อเรียกร้องสำหรับการปฏิรูประบบราชการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ(efficiency) ประสิทธิผล (effectiveness) ประหยัด (economy) ความเท่าเทียมในสังคม (social equity) ให้ความสำคัญกับค่านิยม (value) และการลดบทบาทหน้าที่ของรัฐในการให้บริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้รวดเร็วทันสมัยต่อสถานการณ์ สำหรับแนวทางส่งเสริมการเป็นธรรมรัฐ คือ ความเป็นวิชาชีพนักรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อสะท้อนคุณค่าและภาพพจน์ที่ดีของผู้ปฏิบัติหน้าที่ในการใช้อำนาจหน้าที่ (authority)โดยการคำนึงถึงผลประโยชน์ของประชาชนเป็นสำคัญ บทความนี้ผู้เขียนมุ่งนำเสนอแนวคิดการนำนโยบายไปปฏิบัติ แนวคิดธรรมรัฐและความเป็นวิชาชีพนักรัฐประศาสนศาสตร์ และแนวทางในการสร้างความเป็นธรรมรัฐและวิชาชีพนักรัฐประศาสนศาสตร์

 

Governance with Public Administrator Vocation

Governance is a demand for bureaucracy reformation in order to achieve efficiency, effectiveness, better economy and quality of life, social values, and reduction of state servants’ role by providing services to meet citizens’ demands and basic necessities. Public administrator’s core responsibility is to promote guidelines reflecting on values and good image by taking account of people’s demands and benefits. This article aims to present 1) the ideas for policy implementation, governance and public administrator’s vocation and 2) guidelines on promoting the existing governance and public administrator’s vocation.

Downloads

Issue

Section

บทความวิชาการ