การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสองภาษาของรัฐในประเทศไทย

Authors

  • รุจิรา แสงกรด นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

Keywords:

โรงเรียนสองภาษา, การประกันคุณภาพ, ประเทศไทย, Public bilingual schools, educational quality assurance, Thailand

Abstract

บทความนี้ศึกษา (1) สภาพปัจจุบันประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสองภาษาของรัฐในประเทศไทย (2) พัฒนาและนำเสนอระบบประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสองภาษา และ (3) ศึกษาผลการทดลองใช้และ ผลการตรวจสอบความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความสอดคล้องและความเป็นประโยชน์ของระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาโรงเรียนสองภาษาของรัฐในประเทศไทย ประชากรได้แก่ โรงเรียนรัฐบาลที่จัดการเรียนตาม หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการพุทธศักราช 2544 เป็นภาษาอังกฤษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 156 โรงเรียน ผู้ตอบแบบสอบถามเป็น ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ประสานงาน โครงการ ครู กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กรรมการผู้ปกครองเครือข่ายโรงเรียนรัฐบาลที่จัดการเรียนตาม หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการพุทธศักราช 2544 เป็นภาษาอังกฤษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ในประเทศไทย จำนวน 156 โรงเรียน โรงเรียนละ 5 คน รวม 780 คน การพัฒนา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสองภาษา ผู้วิจัยนำผลจากการศึกษาสภาพปัจจุบัน มาจัดทำร่างระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสองภาษาใช้การสนทนากลุ่มผู้เกี่ยวข้อง 12 คนและการประชุมอิงผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 15 คนโดยอาศัยฉันทามติ ตรวจสอบและรับรองร่างระบบประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสองภาษา ผลการศึกษาพบว่า โรงเรียนสองภาษา มีระดับการปฏิบัติเกี่ยวกับระบบประกันคุณภาพการศึกษาในภาพรวม อยู่ในระดับการปฏิบัติ ผลการทดลองใช้ระบบประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสองภาษา พบว่า คะแนนระดับ การปฏิบัติงานประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสองภาษา ผลการตรวจสอบความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความสอดคล้องและความเป็นประโยชน์ของระบบประกันคุณภาพการศึกษา มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก

 

The Development of an Educational Quality Assurance System for the Bilingual Public Schools in Thailand

This paper reports on the study done with the state of educational quality assurance system in public bilingual schools in Thailand. It aimed to develop and propose an educational quality assurance system for public bilingual schools in Thailand and to study the results of a trial system in terms of propriety, feasibility, congruity and utility. The study subjects were 156 public bilingual schools in Thailand. The 780 respondents were administrators, co-EP teachers, teachers, parents, and school committee members. A research design was adopted from the results of the existing internal quality assurance system framework. Focus group discussion by 12 implementers of public bilingual schools and connoissership model of assessment by 15 experts were used to approve the system by consensus. The results revealed that in practice, the educational quality assurance system of public bilingual schools was totally at a high level; the practice in quality assessment process was also at a high level. Statistical t-test was applied to evaluate the differences between pre-implementation and post-implementation systems. The postimplementation of educational quality assurance system in Satreewithaya 2 school was at a higher level than the post implementation; the progress owed to having experienced practicing the system in the preimplementation. The results of propriety, feasibility, congruity and utility of educational quality assurance system for public bilingual schools were at high levels.

Downloads

Issue

Section

บทความวิจัย