รูปแบบการบริหารงานวิชาการโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

Authors

  • สุทธิศักดิ์ เฟื่องเกษม นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

Keywords:

การปฎิรูปการเรียนรู้, เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน, E-Academic Management model

Abstract

บทความนี้รายงานผลการศึกษา การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารและผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อส่งเสริม การปฏิรูปการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กรณีศึกษาโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ โดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ในส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสนทนากลุ่ม ประชากรใช้ศึกษา สภาพการเรียนรู้ในโรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนระยองวิทยาคมและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ส่วนการทดลอง ใช้รูปแบบเป็นกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ครูผู้สอนประจำและครูผู้สอนพิเศษ ผลการวิจัย สรุปได้ว่า สภาพ การปฏิบัติและปัญหาการบริหารงานวิชาการ พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง สภาพการปฏิรูปการเรียนรู้ ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ทักษะของนักเรียนใน 3 โรงเรียนอยู่ในระดับปานกลาง จากการทดลองรูปแบบการบริหาร วิชาการโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการปฏิรูปการเรียนรู้ในสถานศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ผลการเรียน พบว่า ทั้งก่อนและหลังการนำรูปแบบไปใช้มีความแตกต่าง

 

E-Academic Management Model Enhancing the Learning Reform in Basic Education Institutions

This research studies the condition of learning reform in basic education institutions by using e-academic management and presents the implementation of an e-academic management model to enhance learning reform in basic education institutions. Data collected from the case study of Suankularb Wittayalai Nonthaburi School were analyzed by quantitative statistics namely mean, standard deviation  and t-test whilst the development of the e-academic management model was studied by qualitative research with focus-group discussions. The population for this study for the first objective consisted of three schools, namely Debsirin School, Rayongwittayakom School and Suankularb Wittayalai Nonthaburi School whilst for the second objective, the case study of Suankularb Wittayalai Nonthaburi School was employed to collect data from the sample group which consisted of the director, vice directors, teachers and part-time teachers. The results show that performance and problems of academic affairs administration are at high levels in terms of conditions of learning transformation of basic skills of the students; the three schools were at the middle level with the implementation of the experimental model using information technology and technical management reform learning of Suankularb Wittayalai Nonthaburi School-a significance difference of 0.01 was found prior to and after the introduction of the model.

Downloads

Issue

Section

บทความวิจัย