หลักอำนาจเสริมของศาลอาญาระหว่างประเทศ กับอาชญากรรมอันเป็นการรุกราน

Authors

  • kitti chayoungul

Keywords:

หลักอำนาจเสริม, ศาลอาญา, อาชญากรรม

Abstract

อาชญากรรมอันเป็นการรุกราน เป็นอาชญากรรมร้ายแรงตามกฎหมายระหว่างประเทศที่อยู่ภายใต้เขตอำนาจในการดำเนินคดีของศาลอาญาระหว่างประเทศ การใช้อำนาจเพื่อดำเนินคดีอาชญากรรมดังกล่าว ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศได้กำหนดให้ศาลภายในของรัฐมีอำนาจในการดำเนินคดีอาชญากรรมอันเป็นการรุกรานเหนือศาลอาญาระหว่างประเทศ กล่าวคือศาลอาญาระหว่างประเทศจะปรับใช้อำนาจดำเนินคดีอาชญากรรมรุกรานก็ต่อเมื่อปรากฏว่าศาลภายในของรัฐล้มเหลวในการดำเนินคดีอาชญากรรมระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นในดินแดนของรัฐ ตามหลักอำนาจเสริม บทความนี้นำเสนอลักษณะของอาชญากรรมอันเป็นการรุกราน กลไกการดำเนินคดีตามหลักอำนาจเสริมของศาลอาญาระหว่างประเทศ ตลอดจนประเด็นกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาชญากรรมอันเป็นการรุกรานตามหลักอำนาจเสริมของศาลอาญาระหว่างประเทศ

References

Jannifer Trahan. (2012). Is Complementarity the Right Approach for the International Court's Crime of Aggression? Considering the Problem of 'Overzealous' National Court Prosecution. Cornell International Law Review, 569-601.

John T. Holmes. (2002). Complementarity: National Courts versus the ICC. ใน Paola Gaeta, and John R.W.D. Jones Antonio Cassese, The Rome Statute of the International Criminal Court: A Commentary Vol. I Oxford: Oxford University.

Linda, E. C. (2013). The Future of the International Criminal Court: Complementarity as a Strength or a Weakness. Washington University Global Studies Law Review, 5, 451-473.

Mohamed, M. E. Z. (2008). From Primacy to Complementarity and Backwards: (Re)-Visiting Rule 11 bis of the Ad Hoc Tribunal. International and Comparative Law Quaterly, 2(5), 403-415.

Downloads

Published

2015-12-31

Issue

Section

บทความวิชาการ