การสร้างรูปแบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Authors

  • สกุลพร หสิภาพร

Keywords:

รูปแบบ, การจัดการความรู้, โรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, ภูมิปัญญาท้องถิ่น

Abstract

การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา และด้านการจัดการความรู้ จำนวน 5 คน  กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสัมภาษณ์คือ ครูในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 92 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับต้นแบบรูปแบบการจัดการความรู้; (2) แบบสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับผลผลิตความรู้; (3) แบบสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับการดำเนินการจัดการความรู้; และ (4) แบบประเมินความคิดเห็นต่อรูปแบบการจัดการความรู้ วิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบการจัดการความรู้มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ : ปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้ ประกอบด้วย ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์การ โครงสร้างพื้นฐาน และเทคโนโลยีสารสนเทศ ; กระบวนการจัดการความรู้ได้แก่ การสร้างความรู้ การแสวงหาความรู้ การรวบรวมความรู้ การจัดเก็บความรู้ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ การนำความรู้ไปใช้; การประเมินการจัดการความรู้ได้แก่ การประเมินผลผลิตความรู้ การประเมินการดำเนินการจัดการความรู้ และการประเมินรูปแบบการจัดการความรู้ ; (2) ผลการทดลองใช้รูปแบบ พบว่า   รูปแบบการจัดการความรู้เป็นการดำเนินกิจกรรม 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ขั้นเตรียมการ ระยะที่ 2 การใช้กระบวนการจัดการความรู้; (3)  ผลการประเมินรูปแบบ พบว่า ครูผู้ใช้รูปแบบมีความพึงพอใจต่อผลผลิตความรู้ และการดำเนินการจัดการความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด และผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นต่อรูปแบบในระดับมากที่สุด

References

แก้วเวียง นำนาผล. (2551). การพัฒนาตัวแบบการจัดการความรู้ของสถานศึกษาขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์

ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

จิระประภา โมจิดะ. (2554). รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเอกชน

มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 3(2), 40-47.

จุฑารัตน์ ศราวณะวงศ์. (2552). การจัดการความรู้. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ทองทิพภา วิริยะพันธุ์. (2554). การบริหารทีมงานและการแก้ปัญหา. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

น้ำทิพย์ วิภาวิน. (2546). (กรกฎาคม-ธันวาคม). การจัดการความรู้. วารสารศรีปทุมปริทัศน์, 3(2), 85-92.

บดินทร์ วิจารณ์. (2547). การจัดการความรู้ สู่...ปัญญาปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.

ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2547). การจัดการความรู้ฉบับมือใหม่หัดขับ. กรุงเทพฯ: ใยไหม.

ยืน ภู่วรวรรณ และสมชาย นำประเสริฐ. (2546). ไอทีเพื่อการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

วิจารณ์ พานิช. (2547). การจัดการความรู้กับการบริหารราชการไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้

เพื่อสังคม.

วิจารณ์ พานิช. (2548). การจัดการความรู้กับการบริหารราชการแนวใหม่. ค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2554, จาก

http://www.kmi.or.th/autopage/show_page.php?h=13&s_id=22&d_id=22.

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2547). การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2551). รายงานการติดตามการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ปี 2551. กรุงเทพฯ : เพลินสตูดิโอ จำกัด.

สำนักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น. (2555) . ร่างข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาท้องถิ่น

(พ.ศ. 2555-2564). ค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2555, จาก http://www.dla.go.th/servlet/EbookServlet.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2549) คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการ

ปฏิบัติราชการของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550. กรุงเทพฯ: จุดทอง.

สุพจน์ ศรีนุตพงษ์. (2555). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของครูที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 3(2) 105-113.

อรพินท์ ภาคาผล. (2548). “ภูมิปัญญาท้องถิ่น”. ค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555, จากhttp://www.school.obec.

go.th/muangkhai.

อาชัญญา รัตนอุบล และคณะ. (2550). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างการเรียนรู้สารสนเทศสำหรับ

สังคมไทยในการเปลี่ยนผ่านการศึกษาเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้.รวมบทความ: สัตตศิลา

สำหรับการเปลี่ยนผ่านการจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อำนวย เถาตระกูล. (2550). การพัฒนารูปแบบการบริหารความรู้ในสถาบันการอาชีวศึกษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญา

ดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยสยาม.

Andersen Arthur and American Productivity and Quality Center. (1996). The Knowledge Management Assessment

Tool: External Benchmarking Version. Retrieved August 11, 2011 from

http://sais.aisnet.org/2011/BartczakEtAl.pdf.

Choi, Yong Suk. (2000). An empirical study of factors affection successful implementation

of knowledge management. Doctoral, dissertation University of Nebraska.

Creswell, J.W, Plano Clack, V.L.(2007). Designing and conducting mixed methods research Thousand Oaks:Sage.

Demarest, M. D. (1997). Understanding knowledge management, Journal of Long Range Planning, 1(3), 374-384.

Ernst & Young. (1999). Internet Shopping: An ernstand Young Special Report.

Keyser, R. L. (2004). Assessing the relationship between knowledge management

and plant performance at The Tennessee valley authority. Doctor dissertation, The University of Alabama.

Liebowitz, J. (2000). Developing knowledge management metrics for measuring intellectual.

Journal of Intellectual Capital, 1(1). 11-12.

Lindsey, K. (2002). Measuring knowledge management effectiveness: A task contingent organizational

capabilities perspective. In Eighth American Conference on Information Science and Technology

Management, 2085-2090.

Marali, Y. (2001). Building and developing capabilities: A cognitive congruence framework. In

knowledge management and organization competence. New York: New York University.

Marquardt, M. J. & Reynolds, J. (1994). The global learning organization. New York: IRWIN.

Morey, D., Maybury, M.& Thraising, B. (2001). Knowledge management: Classic and contemporary

works. Cambridge: MIT.

Sallis, E. & Jones, G. (2002). Knowledge management in education. London: Guildford and King’s Lynn.

Singapore Productivity and Standards Board. (2001). Primer on knowledge management integrated. Author:

Integrated.

Skyrme, D. J. (2000). Developing a knowledge strategy: From management to leadership. In knowledge

management: Classic and contemporary works. Cambridge, MA: MIT.

Turban, et al. (2001). Introduction to information technology. Toronto: John Wiley & Sons.

Wiig, K. (1993). Knowledge management foundations: Thinking about thinking-how organizations create,

represent and use knowledge. Arlington, TX: Schema.

Downloads

Published

2015-12-31

Issue

Section

บทความวิจัย