การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานสอบสวนของกองบัญชาการตำรวจนครบาล

Authors

  • กิตติชัย รุจิราวินิจฉัย

Keywords:

งานสอบสวน, การบริหารงานสถานีตำรวจนครบาล, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ด้านงานสอบสวน (2) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานสอบสวนและ (3) แนวทางที่เหมาะในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานสอบสวนของสถานนีตำรวจนครบาล กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติใช้ระเบียบวิธีแบบผสมผสานอย่างเป็นตัวหลักและตัวรอง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามร่วมกับการสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า (1) การปฏิบัติหน้าที่ด้านงานสอบสวนของสถานีตำรวจนครบาล กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ยังขาดแคลนบุคลากร โดยเฉพาะบุคลากรที่เชี่ยวชาญเทคโนโลยีสารสนเทศ งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนยังไม่สอดคล้องกับภารงานที่รับผิดชอบ และด้านสถานที่ ส่วนใหญ่มีบริเวณหรือพื้นที่ใช้สอยน้อย ไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน (2) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานสอบสวน ประกอบด้วย ปัจจัยทางการบริหารจัดการด้านการอำนวยการ ด้านการรายงานและด้านการจัดทำงบประมาณ และ(3) แนวทางที่เหมาะในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานสอบสวนกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ คือด้านการอำนวยการ ด้านการรายงาน และด้านการจัดทำงบประมาณ

References

กฤษกร พลีธัญญวงศ์. (2554). รูปแบบสมรรถนะการบริหารของผู้กำกับการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ. ดุษฎีนิพนธ์

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย.

เจริญศักดิ์ บุตรไทย. (2544). ทัศนคติของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมาย ว่าด้วยการสอบสวนเด็กในคดี อาชญากรรมตาม พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวล กฎหมายอาญา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542. วิทยานิพนธ์สังคม วิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฉัตรเอก หล้าล้ำ. (2547). ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อ ความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของ โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการ พัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

ชิตสันต์ ผลประสิทธิ์. (2545). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติหน้าที่สืบสวน-ศึกษาเฉพาะกรณีกองกำกับการ สืบสวนสอบสวน กองบังคับการตำรวจนครบาล 1 ถึง 9. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ธฤต เรืองเดชา. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวน กรณีศึกษา พนักงาน สอบสวนในสถานีตำรวจ สังกัดตำรวจภูธรจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนา ประชาคมเมืองและชนบท, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

ธีรพงศ์ แก่นอินทร์. (2557). การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. ค้นจาก http://qa.pn.psu.ac.th/PMQA160353.doc

บงกช เทพจารี. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่พลเรือน ตำรวจ ทหารในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบ ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ประเสริฐ บัณฑิศักดิ์. (2540). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของหน่วย ศึกษานิเทศก์ กรมสามัญ ศึกษา. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกบริหาร, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิทักษ์ กิจอานันท์. (2547). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเทศบาลเมืองสุรินทร์. วิทยานิพนธ์ ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, สถาบันราชภัฏสุรินทร์.

ไพรัตน์ รอดทอง. (2547). ปัจจัยที่มีต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนในสังกัดตำรวจภูธร จังหวัดนครปฐม สมุทรสาครและสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์สังคมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิขาสังคมวิทยา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วสุเชษฐ์ โสภณเสถียร. (2555). รูปแบบการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยจราจรทางบกประเภทรถโดยสารสาธารณะ ท่องเที่ยวในประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีนิพนธ์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยอีสเทิร์น เอเชีย.

สิงขร สาระพันธ์. (2544). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวนศึกษากรณีพนักงาน สอบสวนสถานีตำรวจภูธรจังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม, สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สุรพงษ์ เหมือนเผ่าพงษ์. (2540). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน ในสถานีตำรวจ สังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล. วิทยานิพนธ์ พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม, สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

สุภัทรา สงครามศรี. (2550). การศึกษารูปแบบประสิทธิผลร้านค้าทองรูปพรรณ ในจังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

อนันฑิตา รุจิประภา. (2545). ทัศนของบุคคลที่เกี่ยวข้องในชั้นสอบสวนต้องการปฏิบัติงาน ตามพระราชบัญญัติแก้ไข เพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 20) พ.ศ 2542. วิทยานิพนธ์ สังคมสงเคราะห์ศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Certo, S. (2000). Modern management (8thed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Gulick, L. & Urwick, L. F. (1937). Papers on the science of administration. New York: Institute of Public Administration. Columbia University.

Herzberg, F. (1968). Motivation, moral and money. Psychology Today, 12(1).

Maslow, A. M. (1954). Motivation and personality. New York: Harper and Row.

Milton, K. (1981). Human behavior in organization. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall.

Taylor, F. W. (1947). Scientific management. New York: Harper and Brothers.

Downloads

Published

2015-08-31

Issue

Section

บทความวิจัย