แนวทางการบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียนในอําเภอหนองเรือ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 5

Main Article Content

ณิชาภา จันทะกา, วัลลภา อารีรัตน

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียน และ 2) ศึกษาแนวทางการบริหาร จัดการคุณภาพโรงเรียนในอําเภอหนองเรือ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 5 ประชากรไดแก ผูบริหารสถานศึกษา และครู จํานวน 544 คน กลุมตัวอยาง จํานวน 283 คน โดยใชตารางของ Krejcie and Morgan ซึ่งแบง การเก็บขอมูลออกเปน 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การเก็บขอมูลเชิงปริมาณโดยใชแบบสอบถามลักษณะเปนแบบเลือกตอบ และแบบ มาตรวัดประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับที่มีคุณภาพดานความตรงและความเที่ยงตามเกณฑที่ยอมรับไดวิเคราะหขอมูล ดวยคาสถิติ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระยะที่ 2 การเก็บขอมูลเชิงคุณภาพโดยการ จัดสนทนากลุม (Focus Group Discussion) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียนในอําเภอหนองเรือ วิเคราะห ขอมูลดวยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และนําเสนอโดยวิธีการบรรยาย ผลการวิจัย พบวา 1) สภาพการบริหาร จัดการคุณภาพโรงเรียนในอําเภอหนองเรือ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 5 ในภาพรวมมีคา เฉลี่ยอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยรายดานสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ดานการพัฒนาบุคลากร ดานกลยุทธและการวางแผน การปฏิบัติงาน และดานการทํางานแบบมีสวนรวมและเครือขาย และดานการวิเคราะหขอมูล การจัดทําสารสนเทศและผลการ ดําเนินงาน 2) แนวทางการบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียนในอําเภอหนองเรือ ดังนี้ 2.1) ดานภาวะผูนําและการนําองคกร ผูบริหารสถานศึกษาควรดําเนินการในเรื่องการสงเสริมใหครูมีทักษะใหม ๆ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรูในชั้นเรียนการทําการวิจัย ในชั้นเรียน การจัดระบบการนิเทศภายใน และกํากับติดตามอยางตอเนื่อง และการจัดปจจัยเกื้อหนุนเพื่อสรางขวัญและ กําลังใจในการดําเนินงาน 2.2) ดานกลยุทธและการวางแผนปฏิบัติงาน ผูบริหารสถานศึกษาควรดําเนินการในเรื่องการจัดระบบ สารสนเทศและสงเสริมเทคโนโลยีมาใชในการเรียนรู การพัฒนากระบวนการเรียนรูของผูเรียน และการประเมินผลการสอนของ ครูและนักเรียนโดยใชเครื่องมือที่หลากหลายและตอเนื่อง 2.3) ดานการพัฒนาบุคลากร ผูบริหารสถานศึกษามีการสงเสริมและ พัฒนาครูใหไดรับความรูความเขาใจดานหลักสูตรและการสอนโดยการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน และการจัดสรร งบประมาณสนับสนุน 2.4) ดานการบริหารจัดการหลักสูตรและการเรียนรู ผูบริหารสถานศึกษาควรจัดทําระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อใชในการบริหารจัดการและการเรียนการสอน การสงเสริมใหครูประเมินและพัฒนาหลักสูตรอยางตอเนื่อง และการออกแบบการเรียนรูที่อิงเนื้อหาสาระตามหลักสูตร 2.5) ดานการทํางานแบบมีสวนรวมและเครือขาย ผูบริหารสถานศึกษา ควรจัดกิจกรรมที่เผยแพรผลงานนักเรียนและครูสูชุมชนอยางตอเนื่อง การจัดการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและผูปกครอง นักเรียนโดยมีวาระที่ชัดเจนและสื่อสารเชิงรุกเพื่อสรางการมีสวนรวมการจัดตั้งเครือขายการเรียนรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาประยุกตใชเพื่อการสื่อสาร 2.6) ดานการวิเคราะหขอมูล การจัดทําสารสนเทศ และผลการ ดําเนินงาน ผูบริหารสถานศึกษาควรสงเสริมใหครูประเมินตนเองภายใตตัวชี้วัดที่ไดรวมกันกําหนด การสื่อสารกับบุคลากรและ หนวยงานภายนอกหลายรูปแบบ และการจัดทําเอกสารประชาสัมพันธเผยแพรผลงานสถานศึกษาตอสาธารณชน

Article Details

How to Cite
[1]
วัลลภา อารีรัตน ณ. จ., “แนวทางการบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียนในอําเภอหนองเรือ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 5”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 5, pp. 42–47, Jun. 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

ณิชาภา จันทะกา, วัลลภา อารีรัตน, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน