ผลของรูปแบบของแบบทดสอบและวิธีการใหคะแนนที่มีตอคุณภาพของแบบทดสอบ กลุมสาระการเรียนรู วิชาสุขศึกษาพลศึกษา

Main Article Content

นัฐพล คําสุด, พัชรี จันทร์เพ็ง

Abstract

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางตรวจสอบ และเปรียบเทียบคุณภาพของแบบทดสอบกลุมสาระสุขศึกษาและ พลศึกษาที่มีรูปแบบของการทดสอบและวิธีการใหคะแนนแตกตางกัน โดยไดศึกษารูปแบบของแบบทดสอบเลือกตอบที่มี รูปแบบตางกัน 2 รูปแบบ คือ 1) แบบเลือกตอบปรนัย 4 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบ 2) แบบเลือกตอบปรนัย 4 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบ แบบเลือกตอบปรนัยหลายตัวเลือก มากกวา 1 คําตอบ และแบบเลือกตอบจากแตละหมวดที่สัมพันธกัน มีวิธีการ ใหคะแนนที่แตกตางกัน จํานวน 3 วิธี คือ 1) การตรวจใหคะแนน 0-1 2) การตรวจใหคะแนน 0-2 3) การตรวจใหคะแนน ความรูบางสวน รวมเงื่อนไขทั้งหมด 3 เงื่อนไข [ (แบบเลือกตอบปรนัย 4 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบ × การตรวจใหคะแนน 0-1) + (แบบเลือกตอบปรนัย 4 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบ แบบเลือกตอบปรนัยหลายตัวเลือก เลือกมากกวา 1 คําตอบ และแบบ สัมพันธกัน × การตรวจใหคะแนน 0-1 และ การตรวจใหคะแนน 0 -2 ) + (แบบเลือกตอบปรนัย 4 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบ แบบ เลือกตอบปรนัยหลายตัวเลือก เลือกมากกวา 1 คําตอบ และแบบสัมพันธกัน × การตรวจใหคะแนน 0 – 1 และความรูบางสวน) ] โดยรูปแบบที่ 1 มีจํานวนขอสอบ 35 ขอ และรูปแบบที่ 2 มีจํานวนขอสอบ 45 ขอ เก็บขอมูลจากโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาขอนแกน เขต 25 จํานวน 1,200 คน โดยนักเรียนตอบแบบสอบคนละ 1 ฉบับ ตอรูปแบบแบบสอบ รูปแบบละ 600 ฉบับ การตรวจสอบและเปรียบเทียบผลการวิจัยพบวา แบบทดสอบทั้ง 2 ฉบับ 3 เงื่อนไข มีความตรงเชิงเนื้อหา ไมไดแตกตางกัน ทั้งนี้เพราะการออกขอสอบนั้นไดออกตามตัวชี้วัดที่มีมาตรฐานและสาระเดียวกัน ทั้งนี้ทําใหแบบสอบ มีความยาก งาย และเหมาะสมในการใชทดสอบระดับความสามารถที่แตกตางกัน เชน แบบสอบเงื่อนไขที่ 1 เหมาะกับกลุมตํ่า แบบสอบเงื่อนไขที่ 3 เหมาะกับกลุมปานกลาง และแบบสอบเงื่อนไขที่ 2 เหมาะกับกลุมสูง คาความเที่ยงแบบ CCT ในเงื่อนไข ที่ 1 จะมีคาความเที่ยงมากที่สุด รองลงมาคือ เงื่อนไขที่ 3 และเงื่อนไขที่ 2 ตามลําดับ ซึ่งจะเห็นไดวาคาความเที่ยงในแบบสอบ เงื่อนไขที่ 1 จะมีคามากกวารูปแบบอื่น ซึ่งเปนเพราะดวยจํานวนขอสอบที่มีมากกวารูปแบบอื่น จึงทําใหสงผลตอคาความเที่ยง ใหมีคามากขึ้น คาฟงกชั่นสารสนเทศในภาพรวมทุกระดับความสามารถ พบวาแบบสอบเงื่อนไขที่ 2 มีคาความสามารถสูงที่สุด รองลงมาคือแบบสอบเงื่อนไขที่ 1 ขณะที่แบบสอบเงื่อนไขที่ 3 มีคาความสามารถตํ่าที่สุด สอดคลองกับอัตราสวนสารสนเทศ พบวา แบบสอบเงื่อนไขที่ 2 มีประสิทธิภาพสัมพัทธสูงสุด รองลงมาคือ เงื่อนไขที่ 1 และเงื่อนไขที่ 3 ตามลําดับ

Article Details

How to Cite
[1]
พัชรี จันทร์เพ็ง น. ค., “ผลของรูปแบบของแบบทดสอบและวิธีการใหคะแนนที่มีตอคุณภาพของแบบทดสอบ กลุมสาระการเรียนรู วิชาสุขศึกษาพลศึกษา”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 5, pp. 70–75, Jun. 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

นัฐพล คําสุด, พัชรี จันทร์เพ็ง, สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน