การพัฒนาแบบวัดความตระหนักตอโลกในยุคศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน โดยใชแบบวัดเชิงสถานการณ : การประยุกตใชการทําหนาที่ตางกันของขอสอบ

Main Article Content

พิชชา สุริอาจ, ประกฤติยา ทักษิโณ

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาแบบวัดความตระหนักตอโลกในยุคศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนตน 2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความตระหนักตอโลกในยุคศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตนโดยใชแบบ วัดเชิงสถานการณ กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาพื้นฐาน จังหวัด นครราชสีมา จํานวน 1,200 คน ไดมาจากการสุมแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบวัดความตระหนักตอโลก ในยุคศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตนโดยใชแบบวัดเชิงสถานการณ วิเคราะหคาอํานาจจําแนกตามทฤษฎี การวัดแบบดั้งเดิม วิเคราะหคาความเที่ยงใชโปรแกรม SPSS for windows วิเคราะหคาอํานาจจําแนกตามทฤษฎีตอบสนอง ขอสอบใชโปรแกรม Multilog วิเคราะหการทําหนาที่ตางกันของขอสอบ (Differential Item Functioning; DIF) โดยวิธีโพลี โตมัสซิปเทส ใชโปรแกรม DIFPACK เวอรชัน 1.7 วิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง ใชโปรแกรม M-Plus ผลการวิจัย ปรากฏดังนี้:

1. ผลการพัฒนาแบบวัดความตระหนักตอโลกในยุคศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน พบวา แบบวัด เชิงสถานการณ มี 6 องคประกอบ 14 ตัวบงชี้ คือ 1. ความตระหนักในมุมมองที่แตกตาง (3 ตัวบงชี้) 2.ความตระหนักในสภาพ ปจจุบันของโลก (2 ตัวบงชี้) 3. ความตระหนักในความแตกตางของวัฒนธรรม (3 ตัวบงชี้) 4.ความตระหนักในเรื่องพลวัตของ โลก (2 ตัวบงชี้) 5. ความตระหนักตอทางเลือกของมนุษย (2 ตัวบงชี้) 6. ความตระหนักตอการเรียนรูในการทํางานกับบุคคล ที่มีความแตกตาง (2 ตัวบงชี้) ขอคําถามผานเกณฑความตรงเชิงเนื้อหาและทดลองใช จํานวน 46 ขอ

2. ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความตระหนักตอโลกในยุคศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน โดยใชแบบวัดเชิงสถานการณ พบวา 1) มีคาอํานาจจําแนกตามทฤษฎีแบบดั้งเดิม อยูระหวาง 0.20 ถึง 0.81 และคาอํานาจ จําแนกตามทฤษฎีตอบสนองขอสอบ อยูระหวาง 0.15 ถึง 3.22 คาความเที่ยง เทากับ 0.80 2) การทําหนาที่ตางกันของขอคําถาม ตามตัวแปรเพศ พบวา DIF จํานวน 3 ขอ 3) ผลการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สองหลังการปรับโครงสรางแบบวัด หลังการตัด DIF มีความสอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษ มีคา x 2 เทากับ 30.629, คา df เทากับ 27, p-value เทากับ 0.2866, x 2 /df เทากับ 1.13, TLI เทากับ 0.998, CFI เทากับ 0.999 RMSEA เทากับ 0.011 และ SRMR เทากับ 0.014

Article Details

How to Cite
[1]
ประกฤติยา ทักษิโณ พ. ส., “การพัฒนาแบบวัดความตระหนักตอโลกในยุคศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน โดยใชแบบวัดเชิงสถานการณ : การประยุกตใชการทําหนาที่ตางกันของขอสอบ”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 5, pp. 94–100, Jun. 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

พิชชา สุริอาจ, ประกฤติยา ทักษิโณ, สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน