ผลของการใชของเลนตอความสามารถในการแกปญหาของเด็กปฐมวัย

Main Article Content

อรอนงค คงอาษา, สุวรี ฤกษจารี

Abstract

งานวิจัยนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เปรียบเทียบ ความสามารถ ในการแกปญหาของเด็กปฐมวัย กอนและหลังไดรับกิจกรรมการใชของเลน 2) เปรียบเทียบความสามารถในการแกปญหาของ เด็กปฐมวัย ระหวางกลุมที่ไดรับกิจกรรมการใชของเลน และกลุมที่ไมไดรับกิจกรรมการใชของเลน กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนที่ กําลังศึกษาชั้นอนุบาล 3 อายุ 5-6 ป ภาคเรียนที่ 2 ปการ ศึกษา 2557 โรงเรียนเทศบาลบานศรีฐาน จังหวัดขอนแกน จํานวน 20 คน ไดมาโดยการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) จาก 2 หองเรียน สุม 1 หองเรียนเปนกลุมทดลอง จํานวน 10 คน ไดรับกิจกรรมการใชของเลน และสุมอีก 1 หองเรียนเปนกลุมควบคุม จํานวน 10 คน ไมไดรับกิจกรรมการใชของเลน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แผนกิจกรรมการใชของเลนตอความสามารถในการแกปญหาของเด็กปฐมวัย และเครื่องมือที่ใช ในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบทดสอบความสามารถในการแกปญหาของเด็กปฐมวัย มีคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ เทากับ 0.75 มีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.11 - 0.69 วิเคราะหขอมูลเปรียบเทียบความแตกตางโดยใชสถิติ The Wilcoxon Matched-Pairs Signed Ranks Test และ The Mann-Whitney U Test

ผลการวิจัย พบวา 1) เด็กปฐมวัยที่ไดรับกิจกรรมการใชของเลน มีความสามารถในการแกปญหาสูงกวากอนไดรับ กิจกรรมการใชของเลน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) เด็กปฐมวัยที่ไดรับกิจกรรมการใชของเลน มีความสามารถ ในการแกปญหาสูงกวาเด็กปฐมวัยที่ไมไดรับกิจกรรมการใชของเลน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

How to Cite
[1]
สุวรี ฤกษจารี อ. ค., “ผลของการใชของเลนตอความสามารถในการแกปญหาของเด็กปฐมวัย”, EDGKKUJ, vol. 10, no. 5, pp. 166–172, Jun. 2017.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biography

อรอนงค คงอาษา, สุวรี ฤกษจารี, สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการใหคําปรึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการใหคําปรึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน