การจัดระดับคุณภาพโรงเรียนโดยใช้คะแนนมูลค่าเพิ่มด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย School Quality Grading By Using Value-Added Score of Learning Achievement of High School Students.

Main Article Content

จตุภูมิ เขตจัตุรัส

บทคัดย่อ

     การวัดมูลค่าเพ่มเป็นแนวคิดทางธุรกิจท่นามาประยุกต์ในการวัดคุณภาพการศึกษา ในรายงานวิจัยคร้งน้มวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพโมเดลการวัดมูลค่าเพ่มของผลสัมฤทธ์ทางการเรียนของนักเรียนช้น มัธยมศึกษาตอนปลาย และนาเสนอผลการจัดระดับคุณภาพโรงเรียนโดยใช้คะแนนมูลค่าเพ่มท่วัดได้จากโมเดลการวัดมูลค่าเพ่ม (value-added model) ของผลสัมฤทธ์ทางการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายซ่งได้ทาการปรับเทียบคะแนนด้วยวิธีการเชิงเส้นตรง (linear equating method) ใช้ข้อมูลคะแนนผลสัมฤทธ์ทางการเรียนเฉล่ย (GPAX) และคะแนนการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติข้นพ้นฐาน (O-NET) ระหว่างปีการศึกษา 2553 และ 2554 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 25 จังหวัดขอนแก่น จำนวน 82 โรงเรียนวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย การหาตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ การวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่าย (simple regression analysis) การวิเคราะห์เมทริกซ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (confirmatory factor analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพโรงเรียนวัดจากคะแนนมูลค่าเพิ่มจากโมเดลการวัดมูลค่าเพิ่มของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ท่มีความสอดคล้องกลมกลืนดีมากกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Chi-Square = 2.30, df = 5, p-value = 0.8058, RMSEA = 0.0000, RMR = 0.0002) 2) การจัดระดับคุณภาพโรงเรียนใช้การแบ่งตามระดับเปอร์เซ็นต์ไทล์ของคะแนนมูลค่าเพ่ม 7 กลุ่ม ท่มีผลการดำเนินงานพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับตั้งแต่ ควรปรับปรุง น้อย พอใช้ ค่อนข้างดี ดี ดีมากและยอดเยี่ยม การนำวิธีการจัดระดับคุณภาพโรงเรียนโดยใช้คะแนนมูลค่าเพิ่มของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไปใช้ มี 2 แนวทาง คือ แนวทางที่ 1 การจัดระดับคุณภาพโรงเรียนแยกตามรายวิชา มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำผลไปใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา แนวทางท่ 2 การจัดระดับคุณภาพโรงเรียนโดยรวม มีจุดมุ่งหมายเพื ่อนาผลไปตัดสิน
คุณภาพการดาเนินงานของโรงเรียน การจัดระดับคุณภาพโรงเรียนด้วยคะแนนมูลค่าเพ่มช่วยทาให้เห็นคุณภาพการดำเนินงานของโรงเรียนได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)