การบริหารความขัดแยง : กรณีศึกษา โรงเรียนมุงมั่นพัฒนา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 4

Main Article Content

กฤษกร ภาดี

บทคัดย่อ

      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปรากฏการณการบริหารความขัดแยง ของโรงเรียนมุงมั่นพัฒนา โดยใชกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพในการศึกษา ใชเทคนิคการเลือกผูใหขอมูลแบบกอนหิมะ (Snowball Selection) เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ ตัวผูวิจัยถือเปนเครื่องมือหลัก และใชเครื่องมืออื่นอีก 3 ประเภท ประกอบดวยแบบสัมภาษณเชิงลึก แบบบันทึกภาคสนาม แบบบันทึกขอมูลจากเอกสาร ทําการวิเคราะหในเชิงอุปนัย (Analytic Induction) โดยใชการจําแนกชนิดขอมูล (Typological Analysis ) และใชวิธีการตรวจสอบขอสรุปแบบสามเสาดานขอมูล (Data Triangulation) จากแหลงบุคคล

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)