การศึกษาผลการใช้ชุดการสร้างความรู้ ที่ส่งเสริมการคิดเชิงวิเคราะห์ เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลก และเทคโนโลยีอวกาศ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Main Article Content

พราวพลอย ชัยพรมมา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาชุดการสร้างความรู้ ที่ส่งเสริมการคิดเชิง-วิเคราะห์ ศึกษา
การคิดเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสร้างความรู้ ที่ส่งเสริมการคิดเชิงวิเคราะห์ เรื่อง ปรากฏการณ์ของ
โลก และเทคโนโลยีอวกาศ สำ หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนบ้านสำ โรง
สังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3 จำ นวน 15 คน โดยใช้รูปแบบการวิจัยก่อนการทดลอง
ที่มีการทดลองก่อนและหลังการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการ
เรียนรู้ และชุดการสร้างความรู้ ที่ส่งเสริมการคิดเชิงวิเคราะห์ เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลก และเทคโนโลยีอวกาศ 2)
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดการคิดเชิงวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่า สถิติพื้นฐานสำ หรับ
การวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยร้อยละและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
1. การออกแบบและพัฒนาชุดการสร้างความรู้ ที่ส่งเสริมการคิดเชิงวิเคราะห์ ผู้วิจัยได้ศึกษาและค้นหา
สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา รวมถึงหลักการ ทฤษฎี และเอกสารที่เกี่ยวข้องสร้างกรอบแนวคิดในการออกแบบ โดย
นำ หลักการออกแบบตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ และคุณลักษณะของสื่อมาเป็นพื้นฐานในการออกแบบชุดการ
สร้างความรู้ที่พัฒนาตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งได้องค์ประกอบที่สำ คัญ ดังนี้ (1) สถานการณ์ปัญหา (Problem
Based Learning) (2) แหล่งการเรียนรู้ (Resources) (3) ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) (4) ร่วมมือกันแก้
ปัญหา (Collaboration) (5) การโค้ช (Coaching) และ 6) การทดลองเสริมการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking
Experimentation)
2. การคิดเชิงวิเคราะห์ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสร้างความรู้ พบว่า นักเรียนมีคะแนน
เฉลี่ยก่อนเรียน 4.13 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 11.47 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 30.60 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 85.00
และมีนักเรียนร้อยละ 93.33 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ70 ที่กำ หนด
(งานวิชาการโรงเรียนบ้านสำ โรง, 2553)

The purpose of this research was to design and develop the knowledge construction package and
study analytical thinking of students to enhance analytical thinking on “The topic of the Phenomenon of the
World and Space Technology” of 15 grade 6 Students, during the second semester of academic year 2012,
Ban-somrong School. Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 3. The pre-experimental design
was particularly with one group pretest-posttest design. The instruments used in this study were as follows: 1)
The instrument using in the experiment was the Instructional plan and the knowledge construction package
enhancing analytical thinking on “The topic of the Phenomenon of the World and Space Technology”, 2) the
instrument using for data collection was the Analytical Thinking Test. For data analysis, the basic statistic
which was used in this study included the percentage, mean, percentage mean, and standard deviation.
The results revealed in the following.
1. The design and development the knowledge construction package enhance analytical thinking,
the researcher studied and searched for information technology relating to content, rationales, theories, and
related literature. The conceptual framework of design, was constructed based on constructivist theory, and
characteristic of media for designing the knowledge construction package developed from constructivist
theory. There were major components as follows: (1) Problem Based Learning, (2) Resources, (3) Collaboration,
(4) Scaffolding, (5) Coaching, (6) Analytical Thinking Experimentation.
2. For the pretest and posttest learning Analytical Thinking of students in the knowledge construction
package, it found that the pretest average score was 4.13 points, or 11.47%. The posttest average score
was 30.60 points, or 85.00%. About 93.33% of the students passed the 70% criterion of the specified scores
(The criteria of Ban-somrong School).

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)