องค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานการศึกษามัธยมศึกษาเขต 6 จังหวัดฉะเชิงเทรา

Main Article Content

Kaewkeasorn Amsunteai
Kanchana Boonphak
Ampapan Tantinakhongul

Abstract

     This research aims to 1) To study the effectiveness level of educational institutions in Secondary Educational Service Area Office 6, Chachoengsao Province. 2) To study teacher’s opinions on the strategic leadership component of school administrators in Secondary Educational Service Area Office6, Chachoengsao Province and 3) To study the elements of strategic leadership affecting the effectiveness of educational institutions in Secondary Educational Service Area Office 6, Chachoengsao Province. The samples used in the research were teachers in educational institutions under the Secondary Educational Service Area Office 6, Chachoengsao Province in the academic year of 2018. By using the G*power software package and using a Stratified random sampling method. The results from the operation were 16 sample school. The research sample teachers were 254 people. The instruments used for the data collecting was a checklist questionnaire with five leveled rating scale. The reliabilities of the questionnaires was 0.984. The research statistics were arithmetic percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis.


     The research found that: 1) The effectiveness of educational institutions was at a high level. 2) The opinions of teachers about the elements of strategic leadership of school administrators were at a high level and the average values of each aspect were at a high level. 3) Elements of strategic leadership Affecting the effectiveness of educational institutions Grilled moral equivalence Control Organization (X5) and the creation of opportunities for the future (X4) statistically significant level .01 can be predicted 54.30 percent with multiple regression coefficients in the standard score form equal to .414 and 354. The correlation between the effectiveness of the school and the predictive factor (X5, X4,) is .737 and the error value caused by Forecasting is .378. This was brought to construct predicting equations as follows:


The predicting equations of raw scores was;               gif.latex?\hat{Y}  = 1.365 + .353 (X5) + .314 (X4)


The predicting equations of standard score was;        gif.latex?\hat{Z}y = .414 (Zx5)+ .354 (Zx4)

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กมลวรรณ ยอดมาลี. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูกับประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
กัณฑ์กณัฐ สุวรรณรัชภูม์. (2558). ภาวะผู้นำกลยุทธ์: รูปแบบของผู้นำยุคใหม่. วารสารบริหารการศึกษา มศว., 10(18), 1-12.
กัลยรัตน์ เมืองสง. (2550). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิยาลัยบูรพา.
จันทนา แสนสุข. (2557). ปัจจัยที่เป็นเหตุและผลของความสามารถภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 9(1), 34-46.
ณิชา เบญจพรวัฒนา. (2558). แนวโน้มการวิจัยเชิงอนาคตในประเทศไทย. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 2(2), 59-73.
ธนภณ ธรรมรักษ์. (2556). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
ธีรเดช ฉายอรุณ. (2551). กลยุทธ์และกลวิธีในการวิจัยทางประชากรศึกษาขั้นสูง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
เนตรพัณณา ยาวิราช. (2556). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์ (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: เซ็นทรัลเอ็กซ์เพรส.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น ฉบับปรับปรุงใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
พัฎชรี สุขจรุ่ง. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารกับการบริหารรูปแบบดุลยภาพในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2553). การศึกษาภาวะผู้นำและทิศทางใหม่เพื่อการพัฒนาผู้ประกอบการ SMES. วารสารพัฒนาบริหารศาสตร์, 5(1), 80-99.
เรียม สุขกล่ำ. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการครูกับประสิทธิผลของโรงเรียนสำนักงานพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
สลิลทิพ ชูชาติ. (2556). พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผู้บริหารในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 6. (2559). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2559. ฉะเชิงเทรา: กลุ่มนโยบายและแผน.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
Hitt, M. A., lrealand, R. D., & Hoskission, R. E. (2005). Strategic Management: Competitiveness and Globalization (7thed.). United Kingdom: Thomson South-Western.
Mott, P. E. (1992). The Characteristic of Effective Organization. New York: Harper and Row.