การดำเนินการตามมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเทศบาลตำบลหนองบัว อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

เมธาวรินทร์ อินทรายศ
พัชรีวรรณ กิจมี

Abstract

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินการตามมาตรฐานการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ในเทศบาลตำบลหนองบัว อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม  เก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสอบถามจากผูบ้ ริหาร
จำนวน 5 คน ครู จำนวน 14 คน และผู้ปกครอง จำนวน 260 คน รวมทั้งหมดจำนวน 279 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
โดยสัมภาษณ์ผู้บริหารจำนวน 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นวา่ ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กมีการดำเนินการตามมาตรฐาน
ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีการดำเนินการตามมาตรฐานมากทั้ง 6 ด้านดังนี้ ด้านการบริหาร
จัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ สนับสนุนอาหารกลางวันและอาหารเสริมนมให้กับเด็ก
ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด คือ เทศบาลจัดสรรงบประมาณให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในด้านต่าง ๆ อย่างเพียงพอ
เชน่ อาหารกลางวัน อาหารเสริม (นม) วัสดุการศึกษา ฯลฯ ดา้ นบุคลากร พบวา่ ขอ้ ที่มีคา่ เฉลี่ยสูงสุด คือ ครูผูดู้แลเด็ก/
ผู้ดูแลเด็ก ควบคุมอารมณ์ได้ดี และครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กควบคุมกิริยา วาจา ต่อเด็ก และผู้ปกครองส่วนข้อที่มี
ค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ จำนวนครูเหมาะสมกับจำนวนเด็ก (ครู 1 คน ต่อเด็ก 20 คน) ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม
และความปลอดภัย พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความมั่นคงแข็งแรง ปลอดภัยส่วน
ข้อที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด คือ มีการฝึกซ้อมการป้องกันอุบัติภัย ด้านวิชาการและกิจกรรมตามหลักสูตร พบว่า ข้อที่มีค่า
เฉลี่ยสูงสุดคือ จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยมที่ดีงาม เช่น รู้จักการทำความเคารพ การไหว้
สว่ น ขอ้ ที่มีคา่ เฉลี่ยต่ำสุด คือ มีสื่อธรรมชาติและนวัตกรรมที่เหมาะสมและเอื้อตอ่ การเรียนรูด้ า้ นการมีสว่ นรว่ ม และ
สนับสนุนจากทุกภาคสว่ น พบวา่ ขอ้ ที่มีคา่ เฉลี่ยสูงสุดคือ จัดประชุมชี้แจง ปฐมนิเทศผูป้ กครองกอ่ นเปดิ ภาคเรียนทุกครั้ง
ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุดคือ ติดตาม และเยี่ยมบ้านเด็ก เมื่อเจ็บป่วยหรือขาดเรียนและด้านส่งเสริมเครือข่าย
การพัฒนาเด็กปฐมวัย พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็ก ได้รับการอบรมสัมมนา ในเรื่องเกี่ยว
กับพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างสมํ่าเสมอ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด คือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางด้านพัฒนาการเด็ก
ระหว่างครูผู้ดูแลเด็ก ผู้บริหาร ผู้ที่เกี่ยวข้องอยู่เสมอ

This research aimed to investigate the implementation of the standard operation of the Childhood
Development Centers in NhongbuaSubdistrict Municipality, Chai Prakan District, Chiang Mai Province.
The data were collected by using questionnaires of administrators number of 5, teachers number of 14,
and parents number of 260, total number of 279. The data were analyzed through frequency, percentage,
mean and standard deviation. In addition, the data were collected through unstructured interviews by
interviewing 5 administrators. The data wereanalyzed through a content analysis.
The findings showed that the respondents agreed with the implementation of standard operation
of the Childhood Development Centers being at high level. When considering each aspect, it showed
that the standard operations of all 6 aspects were at high level as follows: The aspect of Child Development
Center management revealed the item with the highest mean was to support the children in term of lunch
and supplementary food (milk) while the item with the lowest mean was that the municipality allocated
adequate budget for the Child Development Centers in various aspects, such as lunch, supplementary
food (milk), educational materials, etc. The aspect of personnel showed the item with the highest mean
was that the child care teachers and babysitters could control their emotion well and the child care teachers
and babysitters could control their manners as well as words to children and parents as the item with the
lowest mean was that the number of teachers was appropriate for the number of children with children
(1 teacher: 20 children). The aspect of buildings, environment and safety indicated the item with the highest
mean was that the building of the Child Development Center was strong as well as secure while the item
with the lowest mean was that there was a training about how to prevent accidents. The aspect of
academic matters and activities based on the curriculum revealed that the item with the highest mean
was to arrange activities promoting culture, tradition and good values, namely a salute of respect in form
of “Wai” as the item with the lowest mean was to have appropriate natural media and innovation being
conductive to learning. The aspect of participation and support of all sectors showed the item with the
highest mean was to arrange a meeting and parents’ orientation before the school began regularly while
the item with the lowest mean wasto follow-up and visit the children’s houses when they were sick or
absent. The aspect of network support for early childhood development indicated the item with the highest mean
was that the child care teachers and babysitters were trained in term of early childhood development consistently
as indicated the item with the lowest mean was to exchange their learning about early childhood
development among the child care teachers, administrators and people who concerned at all times.

Article Details

Section
Research Articles