การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โภชนาการในชุมชนในพื้นที่ เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

พรวนา รัตนชูโชค

Abstract

การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทด้านโภชนาการในชุมชน 2) เพื่อศึกษา
ประสิทธิภาพของบทเรียน เรื่อง โภชนาการในชุมชน ตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนก่อนและหลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โภชนาการในชุมชน 4) เพื่อเปรียบเทียบ
ประสิทธิผลทางการเรียนของผู้เรียน หลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โภชนาการในชุมชน
5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจตอ่ บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน เรื่องโภชนาการในชุมชน กลุม่ ตัวอยา่ งประกอบดว้ ย
ชาวบา้ นผูใ้ หข้ อ้ มูลพฤติกรรมดา้ นโภชนาการในชุมชนของตำบลชอ่ แล จำนวน 314 หลังคาเรือน กลุม่ ตัวอยา่ ง
ใหข้ อ้ มูลสำหรับพัฒนาบทเรียน จำนวน 9 คน และกลุม่ ตัวอยา่ งสำหรับทดสอบระบบ จำนวน 31 คน รวบรวมขอ้ มูล
โภชนาการในชุมชนด้วยแบบสอบถามและการสนทนากลุ่ม ประเมินการใช้บทเรียนด้วยแบบสอบถาม
แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ประเมินความพึงพอใจด้วย
แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา ความถี่ ร้อยละ วิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียนใช้
เกณฑ  E1/E2 (80/80) เปรียบเทียบความแตกตา่ งของคา่ คะแนนความรูด้ ว้ ยการทดสอบ คา่ t-test และประเมิน
ประสิทธิผลทางการเรียนของผู้เรียนด้วยการทดสอบค่า t-score
ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ด้านโภชนาการในชุมชนเพื่อนำมาพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง โภชนาการในชุมชน พบว่า 1) พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ยังบริโภคประเภทที่มีไขมันสูง อาหารประเภทปงิ้ ยา่ ง
รมควัน และมีพฤติกรรมการดื่มน้ำชา กาแฟ และน้ำอัดลมอยู ่ ดา้ นโรคประจำตัวที่พบ คือ โรคความดันโลหิตสูง
มากที่สุด รองลงมาเป็นโรคเบาหวาน 2) บทเรียนที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.84/86.99 ซึ่งสูงกว่า
สมมุติฐานที่ตั้งไวที้่ 80/80 3) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียน พบวา่ ผูเ้ รียนมีคะแนนเฉลี่ย
หลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ประสิทธิผลทางการเรียนรู้
หลังเรียนเพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 11.41 และ 5) ความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง โภชนาการในชุมชนมีความพึงพอใจในระดับมาก สรุปได้ว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โภชนาการ
ในชุมชนที่พัฒนาขึ้น สามารถนำไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

The objectives of this research and development are : 1) to study on the context of community
nutrition; 2) to study on efficiency of the Computer Assisted Instruction on Community Nutrition according
to 80/80 criteria; 3) to compare learning achievement before and after using Computer Assisted
Instruction on Community Nutrition; 4) to compare learning achievement of students after using
Computer Assisted Instruction on Community Nutrition; 5) to study on satisfaction towards
Computer Assisted Instruction on Community Nutrition. The samples were consisted of villagers
from 314 households who gave nutritional behavior in the community of Chor Lae Sub-District.
There were 9 samples giving information for developing lessons and 31 samples giving information
on system testing. The nutritional information was collected in the community by using questionnaires
and focus group. The use of Computer Assisted Instruction was evaluated by using questionnaires,
pre-test, progress test, and post-test. Satisfaction was evaluated by using questionnaires. Data
were analyzed by using descriptive statistics, frequency, and percentage. The efficiency of the
lesson was analyzed by using E1/E2 (80/80) Criteria. Differences of knowledge scores were
compared by using t-test. Learning achievement of students was evaluated by using t-score.
According to the study on nutritional context in the community and development of
Computer Assisted Instruction on Community Nutrition, it was found that: 1) most people in the
community have consumed food with high fat, roasted food, smoked food, and drank some tea,
coffee, and soft drinks which cause hypertension and diabetes 2) the efficiency of developed
lesson was 84.84/86.99 that was higher than the hypothesis defined at 80/80; 3) The comparison
on learning achievement was found that students had the post-test’s average score higher than
pre-test’s average score with statistical significance at .05; 4) their learning achievement after
post-test was higher than that of pre-test calculated to be 11.41%; and 5) satisfaction towards
Computer Assisted Instruction on Community Nutrition was in high level. As a result, it could be
concluded that developed Computer Assisted Instruction on Community Nutrition was able to be
implemented with the target group efficiently.

Article Details

Section
Research Articles

References

จิณพิชญ์ชา มะมม. (2557). บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน : เทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะสำหรับนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 22(2), 286-293.

เฉลิมเกียรติ พรรษาจรูญโรจน์, ขวัญชัย จันทนา, กัณฐิกา อ้อนมณี, และวีณัฐกานต์ รัตนธีรวงศ์. (2553). ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสื่อการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Primavera 5.0 ณ มทร.รัตนโกสินทร์. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 8(2), 81-94.

ณัทธร สุขสีทอง. (2559). การพัฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง การตรวจวัดคุณภาพน้ำเบื้องต้นสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. 10(1), 44-55.

มนต์ชัย เทียนทอง. (2554). การออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์สำหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผลิตตำราเรียน สจพ.

มัณฑนี แสงพุ่ม, เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย, และสาวิตรี ลิ้มชัยอรุณเรือง. (2553). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้ปกครองมุสลิมในการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในจังหวัดปัตตานี. วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย. 5(9), 97-103.

วิชิต บุญสวัสดิ์. (2555). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการสวนปัสสาวะแบบเป็นครั้งคราวผู้ป่วยเพศชายสำหรับนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University. 5(2), 183-192.

วิโรจน์ ฉิ่งเล็ก, อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์, วารุณี เกตุอินทร์, และสุวรรณี แสงอาทิตย์. (2555). การทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย เรื่อง “การพยาบาลโรคหัวใจในเด็ก” สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 6(2), 21-29.

สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร. (2546). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม: แนวคิดและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2559). กลุ่มโรค NCDs. สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://www.thaihealth.or.th/.

อรทัย ก๊กผล. (2552). คู่คิด คู่มือ การมีส่วนร่วมของประชาชนสำหรับผู้บริหารท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: จรัญสนิทวงค์การพิมพ์.

อรรถพร ธนูเพ็ชร์. (2558). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel 2010. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 10(2), 55-65.