พฤติกรรมเสี่ยงทางด้านสุขภาพของนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Main Article Content

กรัณย์ ปัญโญ

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงทางด้านสุขภาพและแนวทางในการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมเสี่ยงทางด้านสุขภาพของนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้
ในการวิจัย คือ 1) แบบสอบถามพฤติกรรมเสี่ยงทางด้านสุขภาพ กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตาราง
ของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 300 คน วิเคราะห์ข้อมูล
โดยการแจกแจงความถี่ หาคา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) แบบบันทึกการสนทนากลุม่ ยอ่ ย
ในเรื่องพฤติกรรมเสี่ยงในด้านต่างๆ และแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากนักศึกษาต่างคณะ
ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา 057136 Section 2 จำนวน 100 คน นำแบบบันทึกการสนนทนากลุ่มย่อยไปวิเคราะห์
เนื้อหา (Content Analysis) นำเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปตาราง ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ (1) พฤติกรรมเสี่ยง
ทางด้านสุขภาพโดยรวมมีความเสี่ยงน้อย (1.1) พฤติกรรมการออกกำลังกายมีความเสี่ยงปานกลาง นักศึกษา
เลือกชนิดการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตัวเองในระดับมาก (1.2) พฤติกรรมเสี่ยงในการบริโภคมี
ความเสี่ยงปานกลาง พฤติกรรมการบริโภคที่เสี่ยงมาก ได้แก่ ไม่รับประทานอาหารประเภทผัก ผลไม้ ไม่ล้างมือ
ก่อนรับประทานอาหาร และเลือกรับประทานอาหาร (1.3) พฤติกรรมทางด้านอนามัยส่วนบุคคลมีความเสี่ยง
น้อย เมื่อวิเคราะห์รายข้อ พบว่า ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงในการใชอุ้ปกรณส์ ว่ นตัวรว่ มกับผูอื้่น (1.4) ไมมี่พฤติกรรม
เสี่ยงในการใช้สารเสพติด เมื่อวิเคราะห์รายข้อ พบว่า มีพฤติกรรมเสี่ยงน้อยในการใช้เวลาว่างในการดื่มเครื่องดื่ม
ที่มีแอลกอฮอล์ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เพื่อลดความเครียด (1.5) พฤติกรรมเสี่ยงต่อความเครียดและ
การปรับตัวมีความเสี่ยงนอ้ ย เมื่อวิเคราะหร์ ายขอ้ พบวา่ ไมมี่พฤติกรรมเสี่ยงในการขัดแยง้ กับผูป้ กครอง และ
การปรับตัวเขา้ กับกลุม่ เพื่อน (1.6) พฤติกรรมการขับขี่และการเกิดอุบัติเหตุมีความเสี่ยงปานกลาง พฤติกรรมเสี่ยง
ในระดับมาก คือ ไม่เปิดไฟเลี้ยวก่อนเลี้ยวรถ (1.7 )ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ เมื่อวิเคราะห์
รายข้อ พบว่า นักศึกษามีพฤติกรรมเสี่ยงปานกลางในการปฏิเสธเมื่อคู่รักขอมีเพศสัมพันธ์ และการป้องกัน
เมื่อมีเพศสัมพันธ์ (2) แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงทางด้านสุขภาพ (2.1) พฤติกรรมการออกกำลังกาย
ควรยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนและหลังการออกกำลังกายทุกครั้ง ประเมินศักยภาพของร่างกายว่าเหมาะสมกับ
กีฬาชนิดใด (2.2) พฤติกรรมเสี่ยงในการบริโภค ควรรับประทานอาหารให้ครบทุกมื้อ และให้ครบ 5 หมู่
ในแต่ละวัน รับประทานอาหารเช้าก่อนเข้าเรียน (2.3) พฤติกรรมทางด้านอนามัยส่วนบุคคล ตัดเล็บให้สั้น
อยู่เสมอ เปลี่ยนเสื้อผ้าทุกวัน และทำความสะอาดห้องพักอยู่เสมอ (2.4) พฤติกรรมเสี่ยงในการใช้สารเสพติด
ควรใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน  (2.5) พฤติกรรมเสี่ยงตอ่ ความเครียดและการปรับตัว หลีกเลี่ยงการอยูค่ นเดียว
(2.6) พฤติกรรมการขับขี่และการเกิดอุบัติเหตุ ควรสวมหมวกนิรภัยและรัดเข็มขัดนิรภัยขณะขับขี่ทุกครั้ง
เพื่อให้เกิดความเคยชิน และ (2.7) พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ ไม่หมกมุ่นในเรื่องเพศมากเกินไป

The objectives of this research were to study health risk behaviors and to advise courses
on changing the behavior of students from Faculty of Education, Chiang Mai University. Tools used
in this study were 1) Questionnaire on health risk behaviors, the sample size was from Krejcie and
Morgan’s table with 95% confidence level. The 300 students were specifically selected for this study.
The data were analyzed by probability distribution, percentage, mean and standard deviation
calculation. 2) Records of group seminar on health risk behaviors on various aspects and courses
of behavior changing from 100 students from different faculties who enrolled the 057136 section 2
course. Data from the records were analyzed for content analysis.
The analysis results were in from of tables and can be summarized as followed: (1) The
general health risk behavior was in “low risk” level (1.1) Health risk behavior on exercising was in
“medium risk” level. The students had chosen the best-fit type of exercise for themselves. (1.2)
Health risk behavior of eating was in “medium risk” level. The high-risk level was that the selective
eating behavior, no hand-washing prior to eating and eating with no fruit and vegetable. (1.3) Health
risk behavior on personal hygiene was in “low risk” level. Results on individual item analysis shown
that there was no risk on sharing personal equipment with others. (1.4) No health behavior on drug
usage. Results on individual item analysis shown that there was low-risk on spending free time
drinking alcohol. The low alcohol drink was taken for stress relieve. (1.5) Health risk behavior on
stress and adaptation were in “low risk” level. Results on individual item analysis shown that there
was no risk on parents confliction and adaption among friends. (1.6) Health risk behavior on
driving and riding and accident were in “medium risk” level. The high risk level was on that there
was no signal light turn on before turning (1.7) No health risk on sexual relation. Results on
individual item analysis shown that the students had medium risk level in rejecting the request for
sexual intercourse from their partner and the protection/birth control when having the intercourse.
(2) Courses of health risk behaviors changing (2.1) Exercise behavior: muscle stretching should
be done before and after exercising, evaluate physical potential for the proper sport. (2.2) Eating
behavior: every meal should be eating with all 5 food groups each day, have breakfast before class.
(2.3) Personal hygiene behavior: keep nails short at all time, change clothing daily and clean the
room regularly. (2.4) Drug/narcotic using behavior: utilize free time in productive. (2.5) Stress and
adaptation behavior: avoid being alone. (2.6) Driving and accident behavior: wear helmet and
safety belt when driving and make it normal behavior. (2.7) Sexual behavior: do not obsess in sex.

 

Article Details

Section
Research Articles
Author Biography

กรัณย์ ปัญโญ, Physical Education, Department of Vocational Education and Wellness Promotion. Faculty of Education, Chiang Mai University สาขาวิชาพลศึกษา ภาควิชาอาชีวศึกษาและการส่งเสริมสุขภาวะ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประสบการณ์การทำงาน

พ.ศ.2545-ปัจจุบัน  อาจารย์ประจำ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พ.ศ.2543-2545    อาจารย์ประจำ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

พ.ศ.2541-2542    นักกิจกรรมนักศึกษา กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประวัติการศึกษา

พ.ศ.2551  กศ.ด. (สาขาวิชาการบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร

พ.ศ.2544  วท.ม. (สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พ.ศ.2542  ศษ.ม. (สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พ.ศ.2539  ศษ.บ. (สาขาวิชาพลศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

References

Thawisap Phatai, Nattawut Dangprasert & Ketwadee Chomchaipol. (2010). The Study on Stress and Stress Management of the first year Students, Rajabhat Sakon Nakhon University. Sakon Nakhon : Science and Technology Faculty of Sakon Nakhon Rajabhat University.

Banchong Phonchai & Uthaiwan Sukimanil. (2011). The Nursing Student’s Behavior of Helmet Use, Nakhon Phanom University. Journal of Nursing and Health Sciences. 5 (2), 117-127.

Sawaeng Watcharathanakij, Summana Moolasarn, Soontorn Phanritdam & Manthanat Noobome. (2012). Physical Exercise Behavior of Ubon Ratchathani University Undergraduate Students. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences. 8(3), 35-47.

Hathaikan Sotedee & Amporn Chimplee. (2007). The Food Consumption Behavior of Students in Rajabhat Nakornpathom University. Nakornpathom : Science and Technology Faculty of Nakornpathom Rajabhat University.

Anukool Polsiri. (2008) .Knowledge, Attitudes and Behaviors about Food Consumption of Ramkhamhaeng University Undergraduate Students. Ramkhamhaeng Research Journal. 11(1), 49-60.

Dahlgren G. & Whitehead M. (1993).Tackling inequalities in health: what can we learn from what has been tried? Background paper for the King's Fund International Seminar on Tackling Health Inequalities. Ditchely Park, Oxford: King's Fund.

Sheiham A. & Watt R. (2000). The common risk factor approach – a rational basis for promoting oral health. Community Dentistry and Oral Epidemiology. 28, 399-406