สี่แพร่งแห่งประสบการณ์ว่าด้วยความแตกต่างและความขัดแย้งที่ต้องอยู่ร่วมกัน

Main Article Content

ไพบูลย์ โพธิ์หวังประสิทธิ์

Abstract

บทความนี้ ได้นำเสนอประสบการณ์ ว่าด้วยความแตกต่างและนำไปสู่ความขัดแย้งของชนกลุ่มน้อยกับรัฐใน 4 กรณี คือ ซินเจียง ศรีลังกา อาเจะห์ และมินดาเนา โดยใช้กรอบความคิดเรื่องความสนับสนุนต่อประชาคมการเมืองตามตัวแบบการวิเคราะห์ระบบการเมืองของเดวิด อีสตัน (1965) และเสริมด้วยแนวคิดกระบวนการ “สันติสนทนา” ของชัยวัฒน์  สถาอานันท์ (2555) จากนั้น จึงสังเคราะห์บทเรียนแห่งความขัดแย้ง ขึ้นเป็นข้อสังเกตได้ 16 ประการ รวมทั้งการนำเสนอบทสรุปที่เป็นทางเลือกอันจำกัดของรัฐไทย ต่อการจัดการปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้นในภาคใต้ของประเทศไทย 

 

This paper presents some experiences on the differences which lead to the violence between the minority and state of four cases.  There are Xinjiang, Sri Lanka, Aceh, and Mindanao.  The conceptual framework used in this study comes from David Easton (1965)’s concept on defuse support of the political community which is on “the system analysis approach” and be added with the concept of “Peace dialogue process” of Chaiwat Satha-anand (2555). Then, it has the four experiences synthesized into sixteen observation notes.  Finally, it presents a summary of the limited choices that Thai state may use some of them to develop a policy for solving the occurring violence in the southern of Thailand.

Article Details

Section
Academic Articles