The Development of E-Learning Course on The Topic of Feature Music of Western Culture Arts for Mattayomsuksa 2 การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิง เรื่องลักษณะเด่นทางดนตรีในวัฒนธรรมตะวันตก กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Main Article Content

วรัญญา - รุ่งเรือง
เอกวิทย์ แก้วประดิษฐ์
กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์

Abstract

Abstract


            The objective of this research were : 1) to develop the e-learning course on the topic of feature music of western culture arts for Mattayomsuksa 2 to find out the efficiency according to the set of 80/80 standard criterion; 2) to compare academic achievement between the pretest and posttest of leaning with the e-learning course on the topic of feature music of western culture arts for Mattayomsuksa 2, 3) to study examine the satisfaction of the students with the e-learning course on the topic of feature music of western culture arts for Mattayomsuksa 2 students at Harnthao Rangsiparchasan School, Pakpayoon district, Phattalung province, academic year 2017, all were 80 people by means of Multi – Stage Random Sampling. The tool used were e-learning course, learning achievement tests and a satisfaction questionnaire on student The data analyzed was means ( ), standard deviation (S.D.), percent and t-test dependent.


The results of the study were as follows : 1) The e-learning course efficient accounted 83.33/84.83. 2) The post – test effectiveness of the learner was higher than pre – test with statistically significant level at .05. 3) And the satisfaction of the students was found that the learner’s opinion after using the e-learning course was very high level.


 

Article Details

How to Cite
รุ่งเรือง ว. .-., แก้วประดิษฐ์ เ., & โตพิทักษ์ ก. (2019). The Development of E-Learning Course on The Topic of Feature Music of Western Culture Arts for Mattayomsuksa 2: การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิง เรื่องลักษณะเด่นทางดนตรีในวัฒนธรรมตะวันตก กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. Al-HIKMAH Journal, 9(17), 65–76. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/121996
Section
Research Article

References

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). การจัดระบบบริหารงานสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามโครงสร้างใหม่กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : สำนักงานปฏิรูปการศึกษา.
วศิน เพิ่มทรัพย์และวิโรจน์ ชัยมูล. (2548). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น.
อาณัติ รัตนถิรกุล. (2553). สร้างระบบ E-learning moodle ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ถนอมพร (ตันพอพัฒน์)เลาหจรัสแสง. (2545). Design e-Learning หลักการออกแบบการสร้างเว็บเพื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.
พรเทพ เมืองแมน. (2544). หลักการออกแบและการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยโปรแกรม Authorware Professional 5. ปัตตานี : ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์. (2551). สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์
สามมิติ สุขบรรจง. (2554.) การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิง รายวิชาการแสดงและสื่อ โครงการวิจัยสาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ดวงใจ พัฒนไชย (2541). ผลการใช้ชุดการสอนวิชาดนตรี เรื่องโน้ตสากลเบื้องต้นต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนที่มีรูปแบบการเรียนแตกต่างกัน. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. มหาสารคาม : วิทยาลัยมหาสารคาม
สิริพร ทิพย์สูงเนิน. (2547). การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนอีเลิร์นนิง เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต สําหรับนักเรียนมัธยมปลาย สังกัดกรมสามัญ. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
นิภา โสภาสัมฤทธิ์. (2541). การศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอน เรื่องแบบฝึกทักษะการดีดจะเข้เบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นต้นปีที่ 1 วิชาเอกจะเข้ วิทยาลัยนาฏศิลป์(กรุงเทพฯ). วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปิยมาภรณ์ สบายแท้. (2545 : 96) การศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอน เรื่องทฤษฎีดนตรีสากลพื้นฐานผ่านทักษะขับร้อง ประสานเสียง. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล.
วิรัช เหมโส. (2547). พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่องดนตรีโหวด สาระการเรียนรู้ศิลปะ (สาระดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 วิทยานิพนธ์ กศ.ม. เทคโนโลยีการศึกษา. มหาสารคาม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อรรณพ บัวแก้ว. (2547). การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนสำหรับการเรียนแบบอีเลิร์นนิง วิชาการออกแบบตกแต่งภายใน เรื่องหลักการเขียนทัศนียภาพเบื้องต้น. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ชมพูนุท ศรีหาบัติ. (2546). การพัฒนาบทเรียนสําเร็จรูปวิชาวิถีไทย โดยใช้ระบบอีเลิร์นนิง. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ณัฐสินี ภาณุศานต์. (2553). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจจากการเรียนการสอนออนไลน์ในเวลาเดียวกัน วิชาพื้นฐานศิลปะ เรื่องทักษะการบรรเลงดนตรี ประเภทขลุ่ยรีคอร์เดอร์. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ประยูร ไชยบุตร. (2547). การสร้างนวัตกรรมอีเลิร์นนิง เรื่องระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
วรัสยารี จิรพัฒน์เจริญ. (2554). การพัฒนาและการทดสอบสัมฤทธิผลและความพึงพอใจ ของผู้เรียนที่มีต่อการใช้บทเรียนอีเลิร์นนิง เรื่อง WH-Question. วิทยานิพนธ์ วิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต.
Hart Rowena. (2006). Using e-learning to help Student develop lifelong leraning skills. MA. Royal roads University : Canada
Malataras P.; Pallikarakis N. (2007). Evaluation of an E-learning Course in Biomedical
Technology Management. Merrill Prentice - Hall.