ปัญหาการฟ้องคดีอาญาและการเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ : ศึกษากรณีการบังคับบุคคลให้สูญหายจากข้อเท็จจริงในคำพิพากษาศาลฎีกาที่10915/2558

Main Article Content

วิรัตน์ นาทิพเวทย์
นัชมุุดดีน อัตตอฮีรี

Abstract

Abstract


Enforced Disappearance occurs when an individual is arrested, imprisoned, abducted, or done in any forms of actions regarding deprivation of liberty by state officials, personnel or people groups with authorization, support, or acquiescence of a state, followed by a refusal to accept deprivation of liberty or concealing the individual’s fate or whereabouts, with the intent of placing the person outside the protection of the law. When enforced disappearance happens, the individual’s family would not know the individual’s fate whether he/she is alive or not. As a result, there will be obstacles to approach the criminal procedure, namely being unable to prosecute a state official in a criminal case of enforced disappearance and to associate as a joint prosecutor.

Article Details

How to Cite
นาทิพเวทย์ ว., & อัตตอฮีรี น. (2019). ปัญหาการฟ้องคดีอาญาและการเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ : ศึกษากรณีการบังคับบุคคลให้สูญหายจากข้อเท็จจริงในคำพิพากษาศาลฎีกาที่10915/2558. Al-HIKMAH Journal, 9(17), 43–52. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/119137
Section
Research Article

References

อ้างอิงเอกสาร
หนังสือ
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. 2551. คำอธิบายกฎหมายอาญาภาค1 บทบัญญัติทั่วไป. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์พลสยาม พริ้นติ้ง (ประเทศไทย).
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. 2553. คำอธิบายหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาว่าด้วยการดำเนินคดีในขั้นตอนก่อนการพิจารณา. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์พลสยาม พริ้นติ้ง (ประเทศไทย).
คณะกรรมการนิติศาสตร์สากล. 2553. สิทธิที่จะได้รับการเยียวยาและการชดใช้ความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรงและกว้างขวาง : คู่มือนักปฏิบัติ. กรุงเทพฯ. สำนักงานภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก.
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. 2556. คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามหลักสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ .สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
คณิต ณ นคร. 2549. กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา. กรุงเทพฯ. บริษัท สำนักพิมพ์วิญญูชน จำกัด.
จรัญ โฆษณานันท์. 2559. สิทธิมนุษยชนไร้พรมแดนปรัชญา กฎหมาย และความเป็นจริงทางสังคม.กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์นิติธรรม.
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. 2549. กฎหมายอาญาหลักและปัญหา?. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์นิติธรรม.
ธานิศ เกศวพิทักษ์. 2551. คำอธิบายกฎหมายวิธีพิจารญาความอาญา เล่ม ๑. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์เนติบัณฑิตยสภา.
ปกป้อง ศรีสนิท. 2556. คำอธิบายกฎหมายอาญาระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์เดือนตุลา.
วารสาร
คมกฤช หาญพิชาญชัย. 2552. “อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนให้พ้นจากการถูกบังคับให้หายสาบสูญ : ผลกระทบทาง กฎหมายของประเทศไทย”, วารสารกระบวนยุติธรรม. ฉบับที่3 (กรกฎาคมคม – ธันวาคม) หน้า 35.
เพลินตา ตันรังสรรค์. 2558. “หลักการและสาระสำคัญของร่างประราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหายพ.ศ....”, จุลนิติ. ฉบับที่ 2 (มีนาคม-เมษายน)หน้า 81.
สารอิเล็กทรอนิกส์
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ. สาระสำคัญอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุก คนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ. จากอินเตอร์เน็ต. https://www.rlpd.go.th/rlpdew/Images/rlpd_1/International_HR/2557/CED.pdf. (ค้นเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2561).
สราวุธ เบญจกุล. 2554. อภัยโทษกับนิรโทษกรรม. จากอินเตอร์เน็ต. https://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewslD=9540000114946. (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561)
กฎหมาย
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ตามระเบียบคณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายและผู้ได้รับผลกระทบจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ของรัฐอันสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ พ.ศ. 2555
กฎหมายระหว่างประเทศ
อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ ค.ศ. 2006 (คำแปลไม่เป็นทางการของกระทรวงการต่างประเทศ)