ทักษะทางวิชาชีพ ด้านความชำนาญในการปฏิบัติงานและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางบัญชีส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรทางบัญชีใน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตภาคใต้

Main Article Content

ณัชชา อาแล, 6852279
ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์, 6852279

Abstract

The performance of accounting personnel in the local government is important as it helps building reliability toward the organization. It is essential that the accounting personnel need to be professional and able to use IT that are relevant to the accounting in the government sectors which are- the financial system administration through the use of GFMIS for the efficient work and also to meet the objectives of the organizations. This research is aiming to study about the factors affecting performance on account of local administrative organization. The samples are 347 accounting personnel in the local government of southern Thailand. Questionnaire and data statistics used in the study is the basic statistics and multiple regression analysis.


              The findings reveal that 1) working expertise affects the working performances, IT application and accounting information system also affect the working performance.

Article Details

How to Cite
อาแล ณ., & สินจรูญศักดิ์ ฐ. (2018). ทักษะทางวิชาชีพ ด้านความชำนาญในการปฏิบัติงานและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางบัญชีส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรทางบัญชีใน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตภาคใต้. Al-HIKMAH Journal, 8(16), 11–19. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/168398
Section
Research Article

References

ฐิติวรรณ ลาสอน. (2550). ผลกระทบของศักยภาพการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชีที่มีต่อประสิทธิภาพการดำเนินการของธุรกิจ SMEsในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ธนิษฐา ชีวพัฒนพันธุ์.(2556). ความต้องการพัฒนาความรู้ทางบัญชีของบุคลากรส่วนการคลังสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี.วารสารวิชาการ. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
นุชนารถ อินทรโคกสูง. (2555). ผลกระทบของการปฏิบัติงานทางบัญชีที่มีต่อคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.\
นันทะนา ศรีพระนาม. (2556). ผลกระทบของความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานการบัญชีที่มีต่อความเชื่อมั่นของลูกค้าสำนักงานบัญชีในเขตภาคเหนือ. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
พัชราภรณ์ ลิมปิอังคนันต์. (2552). ปัญหาและแนวทางการแก้ไขการใช้โปรแกรม GFMIS ในการจัดการการด้านการเงินการคลังของประเทศไทย ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต :กรณีศึกษา หน่วยงานราชการในจังหวัดแพร่. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://librac.mju.ac.th ( 2560, กันยายน 20 ).
พรพรรณ เอกเผ่าพันธุ์. (2541). หลักการบัญชีเบื้องต้น. กรุงเทพฯ,ฟิสิกส์เซ็นเตอร์
รุ่งลักษมี รอดขำ. การประมวลผลรายการค้า. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
วราพร หอมทอง. (2557) .ผลกระทบของความชำนาญในวิชาชีพบัญชีที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของหัวหน้าการเงินธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์. บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิชัย เริงรื่น. (2559). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถูกต้องครบถ้วนของรายงานทางบัญชีในระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS). วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
อรพรรณ อิทรแหยม. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานด้านการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ e-LAAS ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.