มิติความเป็นหญิงกับกลไกของสังคมในกฤษณาสอนน้องคำกลอน ฉบับชาวบ้านเมืองเพชรบุรี

Main Article Content

สุภาวดี เพชรเกตุ

Abstract

The Phetchburi regional version of the literature Kritsana Son Nong Kham Klon contains teachings for unmarried women by presenting “socially expected femininity”: having a beautiful appearance and mind, having good manners, being a good housewife, displaying proper conduct, having moral principles, and legally earning a living. It also presents bad characteristics of women; having bad manners, and engaging in immoral activities, such as, engaging in prostitution. Women’s behaviors in accordance to social expectations are but for the satisfaction of men. The appropriate functions of women, as expected, are mechanized for social organization of living together happily.

วรรณกรรมเรื่องกฤษณาสอนน้องคำกลอน ฉบับชาวบ้านเมืองเพชรบุรี เป็นวรรณกรรมที่มีเนื้อหาสอนผู้หญิงที่ยังไม่ได้แต่งงาน โดยการแสดงให้เห็นมิติความเป็นหญิงตามที่สังคมต้องการ คือ มีรูปลักษณ์และจิตใจที่งดงาม มีกิริยามารยาทงดงาม มีความเป็นแม่บ้านแม่เรือน รู้จักวางตัวให้เหมาะสม เป็นผู้มีคุณธรรม และประกอบอาชีพสุจริต และได้แสดงให้เห็นถึงลักษณะที่ไม่ดีของสตรี คือ มีมารยาททราม เกี่ยวข้องกับอบายมุข และเป็นหญิงโสเภณี การที่ผู้หญิงปฏิบัติตามบทบาทที่สังคมกำหนดก็เพื่อที่จะให้เป็นที่ถูกใจของผู้ชาย บทบาทที่เหมาะสมของผู้หญิงซึ่งกำหนดไว้นั้น เพื่อใช้เป็นกลไกในการจัดระเบียบสังคมให้ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)