The study of job embeddedness and turnover intention of beauty assistant in department stores, Bangkok area

Authors

  • Kevalin Puangyoykeaw Setthakorn Ramkhamhaeng University
  • Supaporn Sawathwej Faculty of Business Administration, Ramkhamghang University กรุงเทพมหานคร 10240

Keywords:

Job embeddedness, Turnover Intention, Beauty assistant

Abstract

การศึกษาวิจัย เรื่อง  ปัจจัยการฝังตรึงในงานที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจลาออกของพนักงานขายเครื่องสำอางในห้างสรรพสินค้า เขตกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้กำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้ คือ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการฝังตรึงในงานของพนักงานขายเครื่องสำอางในห้างสรรพสินค้า เขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อนำไปกำหนดแนวทางในการจัดการและนโยบายในการส่งเสริมการฝังตรึงในงานของพนักงานขายเครื่องสำอาง  ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ พนักงานขายเครื่องสำอาง ของบริษัท A จำนวน 306 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย  และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ระหว่างตัวแปรโดยใช้ t-test และทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่า 2 กลุ่มโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน  F-test (Analysis of Variance : ANOVA) วิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่โดยวิธี Least Square Difference (LSD) และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นพนักงานขาย   อายุ 20 - 25 ปี สถานภาพโสดระดับการศึกษาปริญญาตรี มีภูมิลำเนาต่างจังหวัดและอัตราเงินเดือน 15,000 - 20,000 บาท ปัจจัยที่ส่งผลต่อการฝังตรึงในงาน ได้แก่ ด้านความลงตัวกับองค์กรและสภาพแวดล้อมโดยรอบมากที่สุด รองลงมา คือด้านสิ่งที่ต้องสละทางวัตถุหรือจิตใจเมื่อออกจากงาน ด้านความเชื่อมโยงกับบุคคลในองค์กรและครอบครัว ตามลำดับ

 

งในงานของพนักงานขายเครื่องสำอาง  ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ พนักงานขายเครื่องสำอาง ของบริษัท A จำนวน 306 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย  และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ระหว่างตัวแปรโดยใช้ t-test และทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่า 2 กลุ่มโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน  F-test (Analysis of Variance : ANOVA) วิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่โดยวิธี Least Square Difference (LSD) และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นพนักงานขาย   อายุ 20 - 25 ปี สถานภาพโสดระดับการศึกษาปริญญาตรี มีภูมิลำเนาต่างจังหวัดและอัตราเงินเดือน 15,000 - 20,000 บาท ปัจจัยที่ส่งผลต่อการฝังตรึงในงาน ได้แก่ ด้านความลงตัวกับองค์กรและสภาพแวดล้อมโดยรอบมากที่สุด รองลงมา คือด้านสิ่งที่ต้องสละทางวัตถุหรือจิตใจเมื่อออกจากงาน ด้านความเชื่อมโยงกับบุคคลในองค์กรและครอบครัว ตามลำดับ

 

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543). จอมปราชญ์นักการศึกษา:สังเคราะห์ วิเคราะห์และประยุกต์แนวทางพระราชดำรัสด้านการศึกษาและพัฒนาคน. กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธาการพิมพ์.

เกวลิน พวงย้อยแก้ว เศรษฐกร, สมฉวี ศิริโสภณา, มัญชรี ผอบทิพย์, และณัทกิจพัฒน์ หอมวิจิตรกุล. (2561). ทฤษฎีการฝังตรึงในงาน: การทบทวนวรรณกรรม Job Embeddedness Theory: A Literature Review. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 5(2), 161-173.

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันท์. (2545). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ณัฐาพร จริยะปัญญา. (2556). การวิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ การฝังลึกในงาน และความอยู่ดีมีสุขของพนักงานธนาคาร.วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ธันย์ชนก ศรีสวัสดิ์. (2556). การศึกษาแนวทางการปฏิบัติในการธำรงรักษาบุคลากรที่มีสมรรถนะสูง : กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์). มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.

ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. (2550). Competency ภาคปฏิบัติ เขาทำกันอย่างไร?. กรุงเทพมหานคร. พิมพ์ครั้งที่ 2. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

นิลเนตร วีระสมบัติ. (2552). การคงอยู่ของแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต.กรุงเทพมหานคร, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ปกรณ์ ลิ้มโยธิน. (2555). ตัวแบบสมการโครงสร้างขององค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจจะลาออกจากงานของพนักงานโรงแรมในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

กรมการจัดหางาน. (2560), วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงาน. สืบค้นวันที่ 7 มกราคม 2562. ได้จาก: https://www.doe.go.th/prd/lmia/knowledge/param/ site/131/cat/20/sub/0/pull/category/view/cover-view

ศิณีย์ สังข์รัศมี. (2544). “การสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ”. วารสารพัฒนาชุมชน, 40 , 32-36.

สลักจิต ตันติบุญทวีวัฒน์ และคัคนางค์ มณีศรี. (2556). อิทธิพลของความเป็นส่วนหนึ่งในงาน ความพึงพอใจในงานและ ความผูกพันกับองค์การต่อความตั้งใจลาออก. Veridian E-Journal, 6(3), 699-717.

สวรรณกมล จันทรมะโน. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของพนักงานสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. 7(1).

อรยา วิศวไพศาล และเขมกร ไชยประสิทธ์. (2558). ความฝังตรึงในงานของพนักงานฝ่ายวิจัยทางคลินิกในประเทศไทย ขององค์การรับทำวิจัยตามสัญญา. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 1(4).

อัคครัตน์ พูลกระจ่าง. (2552). การพัฒนารูปแบบฝึกอบรม เพื่อพัฒนาพนักงานระดับปฏิบัติการสายการผลิตในสถานประกอบการ. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

Mitchell, T.R.; Holtom, B.C.; Lee, T.W.; Sablynski, C.J. and Erez, M. (2001). Why People Stay: Using Job Embeddedness to Predict Voluntary Turnover. Academy of Management Journal. 44: 1102-1121.

Downloads

Published

2019-10-18

How to Cite

Setthakorn, K. P., & Sawathwej, S. (2019). The study of job embeddedness and turnover intention of beauty assistant in department stores, Bangkok area. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 7(2), 247–263. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/207920

Issue

Section

Research Article