การตรวจสอบความครบถ้วนของความต้องการ ในการเปลี่ยนแปลงซอฟต์แวร์

Main Article Content

ปัทมาภรณ์ สายสิม
ทวิตีย์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา

Abstract

ปัญหาที่พบในการเปลี่ยนแปลงระบบซอฟต์แวร์โดย การพัฒนาระบบใหม่บนพื้นฐานของข้อกำความต้องการ ของระบบเดิม คือ ฟังก์ชันงานหรือข้อมูลที่เคยมีในระบบเดิม และยังต้องการคงไว้ เกิดการตกหล่นไปในการออกแบบ ระบบใหม่ จึงอาจส่งผลให้การส่งมอบงานล่าช้ากว่ากำหนด เนื่องจากต้องแก้ไขให้ระบบใหม่มีข้อมูลหรือฟังก์ชันงานที่ ครบถ้วนถูกต้องก่อน บทความนี้นำเสนอวิธีการตรวจสอบ ความครบถ้วนของความต้องการในการเปลี่ยนแปลง ซอฟต์แวร์ตั้งแต่ในระยะเริ่มต้นของโครงการซอฟต์แวร์ใหม่ โดยการนำแผนภาพคลาสเชิงแนวคิดของระบบเดิมที่มี อยู่แล้วและของระบบที่ออกแบบใหม่มาเปรียบเทียบกัน อัลกอริทึมที่ใช้จะพิจารณาทั้งความคล้ายกันของโครงสร้าง และความคล้ายกันในเชิงความหมายของการตั้งชื่อใน แผนภาพ ผลลัพธ์ของการเปรียบเทียบจะทำให้เห็นถึงความ คล้ายคลึงและความแตกต่างของแผนภาพทั้งสอง อันจะช่วย ให้นักวิเคราะห์ระบบและผู้ใช้สามารถตรวจสอบความครบ ถ้วนของความต้องการในการเปลี่ยนแปลง สำหรับการ ออกแบบเชิงแนวคิดของระบบใหม่ที่จะพัฒนาต่อไปได้

 

Checking for Completeness of Software Change Requirements

Pattamaporn Saisim and Twittie Senivongse

An important problem in development of a new software system based on the requirements specification of the original system is that certain functions or data that are present in the original system and should be retained are missing from the new system. This problem can delay product delivery as the new system will need to be fixed to fulfill all functional and data requirements. This paper presents a method to check for completeness of software change requirements at the early stage of the new software project by comparing the conceptual class diagram of the original system with that of the new system to be developed. The algorithm considers structural similarity and semantic similarity of names in both diagrams. The comparison result can identify similarities and differences between the two diagrams, and hence can support system analysts and users in checking for completeness of change requirements for the conceptual design of the new system. 

Article Details

Section
บทความวิจัย