การให้ความหมายและเหตุปัจจัยของปัญญาที่ผุดขึ้นในบริบทความหลากหลายทางเพศ: กรณีศึกษาพ่อแม่ที่ลูกวัยรุ่นมีความหลากหลายทางเพศ

Authors

  • สิทธิพร ครามานนท์ Teacher at Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University
  • นริสรา พึ่งโพธิ์สภ Assistant Professor at Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University
  • ครรชิต แสนอุบล Lecturer at Department of Guidance and Educational Psychology, Faculty of Education, Srinakharinwirot University

Keywords:

Wisdom of Parents, LGBT children,qualitative research

Abstract

การวิจัยนี้อธิบายการให้ความหมายและเหตุปัจจัยนำสู่ปัญญาที่ผุดขึ้นในบริบทความหลากหลายทางเพศ โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา ผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นพ่อแม่และผู้ปกครองที่มีลูกวัยรุ่นมีความหลากหลายทางเพศและสามารถเข้าใจในวิถีทางเพศของลูก จำนวน 3 ครอบครัวที่ได้จากการคัดเลือกคุณสมบัติเชิงทฤษฎี เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ข้อคำถามแบบกึ่งโครงสร้างผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ว่า (1) การให้ความหมายปัญญาที่ผุดขึ้นในบริบทความหลากหลายทางเพศ ได้แก่ ความหมายปัญญาผุดขึ้นแล้ว คือ การยอมรับในสิ่งที่ลูกเป็นกับการคืนความสงบสุขให้ครอบครัว ความหมายปัญญากำลังผุด ประกอบด้วย ความหมายเชิงกระบวนการ คือ การเติบโตของความเข้าใจสู่การยอมรับกับการเปลี่ยนผ่านจากมืดสู่สว่าง และผลที่สืบเนื่องกับตนเอง คือ การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ความรู้สึกด้านความคิดความเชื่อ ด้านวิถีปฏิบัติกับลูก (2) เหตุปัจจัยนำสู่ปัญญาที่ผุดขึ้นในบริบทความหลากหลายทางเพศ ได้แก่ ตัวแทนทางสังคม กระบวนการภายในบุคคล และทางเกิดการนำไปใช้ในเชิงนโยบายสามารถกระทำได้ผ่านตัวแทนทางสังคม คือ สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สื่อมวลชน

References

กฤช เตชะประเสริฐ. (2556). พฤติกรรมการท่องเที่ยวของกลุ่มชายรักชาย (เกย์) ที่อาศัยในเขตจังหวัด ขอนแก่น. การศึกษาอิสระ บธ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยว). มหาวิทยาลัยขอนแก่น,บัณฑิตวิทยาลัย.
ครรชิต แสนอุบล. (2560). ศีล สมาธิ ปัญญา ในบริบทการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ.วารสารศึกษาศาสตร์ มมร. 5(1), 133-149.
จิราภรณ์ อรุณากูร. (2557). เมื่อไม่รู้ตัวเอง เป็นเพศอะไร. สืบค้นจาก
https://www.thaihealth.or.th/Content/27443-%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87%20%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A8%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html
ไชยศิริ บุญยกุลศรีรุ่ง. (2553). เพศสภาพและเพศวิถีชายรักชายในภาพยนตร์ไทย. วิทยานิพนธ์ นศ.ม. (การ สื่อสารมวลชน). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย.
ณัฏฐวัฒน์ ตั้งปฐมวงศ์. (2556). การรณรงค์ประชาสัมพันธ์และปัจจัยพยากรณ์ผลลัพธ์เชิงพฤติกรรมการใช้ถุงยาง อนามัยของกลุ่มชายรักชายในซาวน่าเขตกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ นศ.ม. (นิเทศศาสตร์). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, บัณฑิตวิทยาลัย.
เตโช ชัยวุฒิ. (2554). ประสบการณ์การเปิดเผยความโน้มเอียงทางเพศของชายรักชายต่อครอบครัว. วิทยานิพนธ์ ศ.ม. (จิตวิทยาการปรึกษา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย.
นที ธีระโรจนพงษ์. (2551). ความสนใจทางการเมืองไทยของกลุ่มชายรักชาย (เกย์) ในอำเภอเมือง เชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ศศ.ม. (เศรษฐศาสตร์การเมือง). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,บัณฑิต วิทยาลัย.
นิธิวัธน์ เตมะวัธนานนท์. (2557). การสร้างความฉลาดรู้เรื่องเพศของอาจารย์ชายรักชายในสถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ศ.ม. (การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน). มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย.
นพสิทธิ์ สิริจรูญชัย. (2555). ประสบการณ์ทางจิตใจของชายรักชายที่ไม่เปิดเผยความโน้มเอียงทางเพศของตนเอง ต่อครอบครัว. วิทยานิพนธ์ ศ.ม. (จิตวิทยา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย.
บุญสิตา อิ่มอยู่. (2550). วิถีชีวิตของกลุ่มชายรักชายในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ ศ.ม. (พัฒน สังคมศาสตร์). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย.
ประทักษ์พงษ์ วงศ์กิติ. (2557). ความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการติดเชื้อเอช พี วี ของกลุ่มชายรักชาย จังหวัดเชียงใหม่.การค้นคว้าอิสระ สส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, บัณฑิตวิทยาลัย.
ประทักษ์พงษ์ วงศ์กิติ. (2557). ความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการติดเชื้อเอช พี วี ของกลุ่มชายรักชาย จังหวัดเชียงใหม่.การค้นคว้าอิสระ สส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์).มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, บัณฑิตวิทยาลัย.
ปาณิสรา มงคลวาที. (2552). การนำเสนอภาพกลุ่มชายรักชายในภาพยนตร์ไทยปี พ.ศ. 2550. วิทยานิพนธ์ ว.ม. (การบริหารสื่อสารมวลชน). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย.
ปิยรัตน์ มาร์แต็ง. (2546). แนวทางการให้การศึกษาเพื่อความเข้าใจในวิถีชีวิตของคนรักเพศเดียวกัน. วิทยานิพนธ์ (ค.ม.). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2552). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย.
เพริศพรรณ แดนศิลป์. (2550). ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มโยนิโสมนสิการที่มีต่อปัญญาใน ภาวะ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงและภาวะความเปลี่ยนแปลง.วิทยานิพนธ์ (ศศ.ด.). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย.
รชยา บุญภิบาล. (2552). การสื่อสารความหลากหลายทางเพศวิถี : วาทกรรมชายรักชายในละครเวทีไทยร่วมสมัย. วิทยานิพนธ์ นศ.ม. (สื่อสารการแสดง). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย.
รัตนกร รัตนชีวร. (2556). ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเพื่อยืนยันความเป็นตัวตนของชายรักชายต่อ ความรู้สึกด้อยค่าจากการรักเพศเดียวกันของชายรักชาย. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,บัณฑิตวิทยาลัย.
วุฒิพงศ์ คงทอง. (2551). ลักษณะของชายรักชายที่เป็นสมาชิกกลุ่ม POWER OF VIOLET ของจังหวัดแห่งหนึ่งใน ภาคใต้. วิทยานิพนธ์ สธ.ม. (สาธารณสุขศาสตร์). มหาวิทยาลัยขอนแก่น,บัณฑิตวิทยาลัย.
สมพิศ ปิ่นตบแต่ง. (2554). วิถีชีวิตของกลุ่มชายรักชายในเรือนจำ ศึกษากรณีเรือนจำกลางนครปฐม. การศึกษาค้นคว้าอิสระ (การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน).มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย.
สมศักดิ์ ปัญจศิล. (2553). การสื่อสารกับการสร้างอัตลักษณ์ของชายรักชายในการประกวดนางงามประเภทสอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ว.ม. (สื่อสารมวลชน). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, บัณฑิต วิทยาลัย.
สีตลา ประติพัทธ์กุลชัย. (2551). การเปิดรับสื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมทางสังคมของกลุ่มชายรักชายในเขต กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ นศ.ม. (นิเทศศาสตรพัฒนาการ). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิต วิทยาลัย.
สุทธิพันธ์ เปลี่ยนขำ. (2555). การศึกษาพฤติกรรมบริโภคเสื้อผ้าสำเร็จรูปของกลุ่มนักศึกษาชายรักชาย มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (การประกอบการ). มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย.
สุพัตรา สุภาพ. (2546). สังคมวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สุภางค์ จันทวนิช. (2549). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ.(พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภาพร ประดับสมุทร. (2552) การเกิดปัญญาในกระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ด.). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,บัณฑิตวิทยาลัย.
โสรีช์ โพธิแก้ว.(2553). การสังเคราะห์หลักอริยสัจ 4 สู่กระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยา/จิตรักษา เพื่อการพัฒนา รักษา และเยียวยาชีวิตจิตใจ : แนวคิด แนวทาง ประสบการณ์ และงานวิจัย. กรุงเทพ : หลักสูตร สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อาริยา ชัยยศ. 2552. ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาทักษะในการป้องกัน โรคเอดส์ ต่อพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของพนักงานบริการชายรักชาย. วิทยานิพนธ์ พย.ม. (พยาบาลศาสตร์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย.
Heppner, P. P. (1978). A review of the problem-solving literature and its relationship to the counseling process. Journal of Counseling Psychology, 25(5), 366.
Heppner, P. P., Witty, T. E., & Dixon, W. A. (2004). Problem-Solving Appraisal and Human Adjustment A Review of 20 Years of Research Using the Problem Solving Inventory. The Counseling Psychologist, 32(3), 344-428.
Miles, M. B., & Huberman, A. M. (1994). Qualitative data analysis: An expanded sourcebook. (2nd ed.). Thousand Oaks: SAGE.
Shure, M. B. (2001). I can problem solve (ICPS): An interpersonal cognitive problem solving program for children. Residential Treatment for Children & Youth, 18(3), 3-14.
Shure, M. B., &Spivack, G. (1972). Means-ends thinking, adjustment, and social class among elementary-school-aged children. Journal of Consulting and Clinical Psychology, 38(3), 348.

Downloads

Published

2019-08-01

How to Cite

ครามานนท์ ส., พึ่งโพธิ์สภ น., & แสนอุบล ค. (2019). การให้ความหมายและเหตุปัจจัยของปัญญาที่ผุดขึ้นในบริบทความหลากหลายทางเพศ: กรณีศึกษาพ่อแม่ที่ลูกวัยรุ่นมีความหลากหลายทางเพศ. Journal of Behavioral Science for Development, 11(2), 171–192. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/194734