การส่งเสริมสุขภาวะในนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีด้วยการปรึกษาเชิงจิตวิทยารายบุคคลแบบออนไลน์

Authors

  • สุววุฒิ (Suwawute) วงศ์ทางสวัสดิ์ (Vongtangswad) Chulalongkorn University
  • อรัญญา (Arunya) ตุ้ยคำภีร์ (Tuicomepee) Chulalongkorn University

Keywords:

Online counseling, Psychology, Wellness

Abstract

Wellness Enhancement in Undergraduates through Chat-Based Individual
Online Counseling

This study aimed to examine effectiveness of the chat-based individual online counseling on wellness of undergraduates. The quasi-experimental with pretest-posttest control group design was employed. Participants were 30 undergraduates (3 males and 27 females). They were randomly assigned to experimental group and control group (n = 15 per group). Those in experimental group participated in the chat-based individual online counseling sessions (60-90 minutes for one session per week) for 4 weeks while participants in control group lived their life normally. Instruments were Thai version of 5-Factor Wellness Inventory and the individual Existential-Humanistic online counseling protocol. Independent and Dependent sample t-test were used for data analysis. Findings revealed the posttest scores on wellness of the online counseling group were significantly higher than its pretest scores (p < .01) and significantly higher than the posttest scores of the control group (p < .01).

Keywords: wellness, online counseling, Existential-Humanistic approach

การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของการปรึกษาเชิงจิตวิทยารายบุคคลแบบออนไลน์ต่อการส่งเสริมสุขภาวะในนิสิตนักศึกษาปริญญาตรี ออกแบบวิธีการวิจัยเป็นแบบกึ่งทดลองโดยมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีจำนวน 30 คน (เป็นเพศชาย 3 คน เพศหญิง 27 คน) โดยกลุ่มตัวอย่างจะถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 15 คน ได้แก่ กลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบรายบุคคลแบบออนไลน์ (แชท) จำนวน 4 ครั้ง (ครั้งละ 60-90 นาที สัปดาห์ละ 1 ครั้ง) และกลุ่มควบคุมที่ดำเนินชีวิตตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินสุขภาวะแบบห้าองค์ประกอบ และแนวทางการปรึกษาเชิงจิตวิทยารายบุคคลแนวอัตถิภาวนิยม-มนุษยนิยมแบบออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบที (t-test) ผลการวิจัยพบว่านิสิตนักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนสุขภาวะในระยะหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม พบว่า นิสิตนักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนสุขภาวะสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

คำสำคัญ: สุขภาวะ การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบออนไลน์ แนวคิดอัตถิภาวนิยม-มนุษยนิยม

Author Biographies

สุววุฒิ (Suwawute) วงศ์ทางสวัสดิ์ (Vongtangswad), Chulalongkorn University

Doctoral student in Counseling Psychology Program, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University.Doctoral student in Counseling Psychology Program, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University. 

อรัญญา (Arunya) ตุ้ยคำภีร์ (Tuicomepee), Chulalongkorn University

Associate Professor in Counseling Psychology Program, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University.

Downloads

Published

2017-08-30

How to Cite

วงศ์ทางสวัสดิ์ (Vongtangswad) ส. (Suwawute), & ตุ้ยคำภีร์ (Tuicomepee) อ. (Arunya). (2017). การส่งเสริมสุขภาวะในนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีด้วยการปรึกษาเชิงจิตวิทยารายบุคคลแบบออนไลน์. Journal of Behavioral Science for Development, 9(2). Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/97555