การสร้างแบบวัดเอกลักษณ์พลเมืองอาเซียนของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Authors

  • นิปาตีเมาะ (NIPATIMAH) - หะยีหามะ (HAJIHAMA) ่-
  • Oraphin Choochom
  • Chittrapa Kundalaputra

Keywords:

ASEAN citizens’ identity, scale, undergraduate student, เอกลักษณ์พลเมืองอาเซียน, แบบวัด, นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Abstract

The Construct of ASEAN Citizens’

Identity Scale for Undergraduate Students

The purpose of this research was to construct ASEAN citizens’ identity scale for undergraduate students. The sample consisted of 640 undergraduate students from Prince of Songkla University by a proportional stratified random sampling method. Data were collected by using the 16 item ASEAN citizens’ identity scale with six level of rating scale, from (6) extremely true of me (1) never true of me. For this research reliability was .923. The data were analyzed by item-total correlation, Cronbach’s alpha coefficient and confirmatory factor analysis. The results indicated that the ASEAN citizens’ identity for undergraduate students model was fitted with the empirical data (c2  = 98.62, df = 70, CFI = 1, GFI = 0.98, NFI=0.99, TLI = 1, RMSEA = 0.023) The constructed reliability ASEAN citizens’ identity model was ranged. 0.845-0.873 and average variance extracted was ranged 0.523-0.549

Keywords:  ASEAN citizens’ identity, scale, undergraduate student


บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบวัดเอกลักษณ์พลเมืองอาเซียนของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่กำลังศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 640 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เป็นแบบสอบถามวัดเอกลักษณ์พลเมืองอาเซียน มีลักษณะเป็นมาตรประเมินค่า 6 ระดับ จาก (6) จริงที่สุด ถึง (1) ไม่จริงเลย จำนวน 16 ข้อ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .923 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์รายข้อกับคะแนนรวม  สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการศึกษาพบว่า โมเดลการวัดเอกลักษณ์พลเมืองอาเซียนของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี ตามภาวะสันนิษฐานมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูล
เชิงประจักษ์ (c2=98.62, df=70, CFI=1, GFI=0.98, NFI=0.99, TLI=1, RMSEA= 0.023) มีค่าความเชื่อมั่นเชิงองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 0.845-0.873 และมีค่าเฉลี่ยของความแปรปรวนที่ถูกสกัดได้อยู่ระหว่าง 0.523-0.549

คำสำคัญ:  เอกลักษณ์พลเมืองอาเซียน  แบบวัด  นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Keywords: ASEAN citizens’ identity, scale, undergraduate student

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบวัดเอกลักษณ์พลเมืองอาเซียนของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่กำลังศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 640 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เป็นแบบสอบถามวัดเอกลักษณ์พลเมืองอาเซียน มีลักษณะเป็นมาตรประเมินค่า 6 ระดับ จาก (6) จริงที่สุด ถึง (1) ไม่จริงเลย จำนวน 16 ข้อ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .923 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์รายข้อกับคะแนนรวม  สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการศึกษาพบว่า โมเดลการวัดเอกลักษณ์พลเมืองอาเซียนของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี ตามภาวะสันนิษฐานมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (c2=98.62, df=70, CFI=1, GFI=0.98, NFI=0.99, TLI=1, RMSEA= 0.023) มีค่าความเชื่อมั่นเชิงองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 0.845- 0.873 และมีค่าเฉลี่ยของความแปรปรวนที่ถูกสกัดได้อยู่ระหว่าง    0.523-0.549

คำสำคัญ:  เอกลักษณ์พลเมืองอาเซียน  แบบวัด  นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Downloads

Published

2017-08-30

How to Cite

หะยีหามะ (HAJIHAMA) น. (NIPATIMAH) .-., Choochom, O., & Kundalaputra, C. (2017). การสร้างแบบวัดเอกลักษณ์พลเมืองอาเซียนของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี. Journal of Behavioral Science for Development, 9(2). Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/97649