ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในองค์การของเทศบางเมืองบึงยี่โถ

Main Article Content

วัชระ คำเขียว

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในองค์การของเทศบาลเมืองบึงยี่โถ 2) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคในการบริหารของเทศบาลเมืองบึงยี่โถและ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาการบริหารของเทศบาลเมืองบึงยี่โถ ซึ่งเป็นงานวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างเชิงประมาณได้แก่ บุคลากรและประชาชนของเทศบาลเมืองบึงยี่โถ จำนวน  498 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ  กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญงานวิจัยเชิงคุณภาพได้แก่ประชาชนและบุคลากรในสังกัดเทศบาลเมืองบึงยี่โถจำนวน 48 คน ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่มและการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม ระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในองค์การของเทศบาลเมืองบึงยี่โถของบุคลากรและประชาชนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด  ส่วนผลการทดสอบสมติฐาน พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในองค์การของเทศบาลเมืองบึงยี่โถ ได้แก่ หลักการกระจายอำนาจ หลักนิติธรรม หลักภาระรับผิดชอบ  หลักการตอบสนองและหลักประสิทธิผลมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในองค์การของเทศบาลเมืองบึงยี่โถโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (F= 154.745 และา p = .000)

Article Details

How to Cite
[1]
คำเขียว ว. 2019. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในองค์การของเทศบางเมืองบึงยี่โถ. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 7, 1 (ม.ค. 2019), 93–104.
บท
บทความวิจัย

References

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.2561.ข้อมูลจำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น. กรุงเทพฯ.
กมลลักษณ์ ยินดียม. 2556. ประสิทธิผลการบริหารองค์การตามหลักการบริหารจัดการที่ดี: กรณีศึกษา เทศบาลตำบลในพื้นที่บริเวณชายแดนไทย –กัมพูชา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร. เมษายน2556.Vol4 No1.
ชาย โพธิสิตา.2554.ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 5).อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง จํากัด(มหาชน).กรุงเทพฯ.
เทศบาลเมืองบึงยี่โถ.2561.ข้อมูลทั่วไปของเทศบาลเมืองบึงยี่โถ.(ระบบออนไลน์).แหล่งข้อมูล https://www.buengyitho.go.th/home (1 มกราคม 2561)
เทศบาลเมืองบึงยี่โถ.2561.แผนพัฒนาสามปีพ.ศ.2560-2562เทศบาลเมืองบึงยี่โถ.งานวิเคราะห์นโยบายและแผน กองวิชาการและแผนงาน.
บุญทัน ดอกไธสง.2557.รัฐประศาสนศาสตร์เชื่องโยง AECก้าวสู่ความมั่งคั่ง2020.สำนักพิมพ์ปัญญาชน.กรุงเทพฯ.
ปริณ บุญฉลวย.2556.วัฒนธรรมองค์การ องค์การการเรียนรู้ กับประสิทธิผลองค์การของศาลยุติธรรม: ตัวแบบสมการ. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 9 ฉบับ 2 (2556).
เพ็ชรี รูปะวิเชตร์และคณะ.2561.การจัดการสังคมผู้สูงอายุของพื้นที่หุบเขาเมืองชิมานโตะ จังหวัดโคชิ ประเทศญี่ปุ่น.วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม - เมษายน 2561. 22 หน้า
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารราชการที่ดี.2546.การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี.ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 120 ตอนที่ 100 ก .5 ตุลาคม 2546.
สถาบันพระปกเกล้า.2561.การบริหารราชการแผ่นดิน.รัฐสภา.กรุงเทพฯ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.2552.คู่มือการจัดระดับการกำกับดูแลองค์การภาครัฐ ตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance Rating)จัดพิมพ์โดย บริษัท พรีเมียร์โปร จำกัด. กรุงเทพฯ
สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลเมืองบึงยี่โถ.2560.จำนวนประชากรและบุคลากรเทศบาลเมืองบึงยี่โถ.(ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล https://www.buengyitho.go.th/home (1 มกราคม 2560)
สมชาย น้อยฉ่ำ นิคม เจียรจินดาและชัชวลิต เลาหวิเชียร.2559.ธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลในการบริหารงานตามหลักการประเมินแห่งดุลยภาพของเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559.
สมาน รังสิโยกฤษฏ์.2542.การบริหารราชการ.สวัสดิการสำนักงาน ก.พ.กรุงเทพฯ.
วิจิตร วิชัยสารและคณะ.2559.การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการของเทศบาลเมืองบึงยี่โถ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี(ประจำปีงบประมาณ 2559) .วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเซีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน พฤษภาคม-สิงหาคม 2560.
องค์กรต่อต้านคอรัปชันประเทศไทย.2560.การแถลงรายงานผลสำรวจดัชนีสถานการณ์คอร์รัปชันไทย (CSI) โดย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. Anti-Corruption Organization of Thailand. กรุงเทพฯ.
อุมาพร กาญจนคลอดและคณะ.2559.ประสิทธิผลในการจัดการนวัตกรรมของเทศบาลในประเทศไทย.Veridian E-Journal, Silpakorn University. สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2559.
Christopher H.1991. A public management for all seasons. Public Administration.
Denzin, N. K. 1970. The research act in sociology. Chicago: Aldine.
Denhardt, J. V., & Denhardt, R. B. 2007. The new public service. Expanded edition serving, Not steering. New York: M.E. Sharpe Armonk.
Harry B.2000. Participation and Accountability at the Periphery: Democratic Local Governance in Six Countries. World Development, 2000, vol. 28, issue 1, 21-39pp
Krejcie and Morgan.1970. Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3). 607-610 pp.
Miles, M. B., & Huberman, A. M.1994. Qualitative Data Analysis (2nd ed.). London: SAGE.
Osborne and Gaebler.1992.Reinventing Government. New York.
Quinn, R. E. and Rohrbaugh, J. 1983. A Spatial Model of Effectiveness Criteria: Towards a Competing Values Approach to Organizational Analysis. Management Science. 29 (March).
Waheduzzaman.2010.People’s participation for good governance : a study of rural development programs in Bangladesh. PhD thesis, Victoria University. Australia.