วิสาหกิจเพื่อสังคม: การต่อยอดวิสาหกิจชุมชนและสวัสดิการชุมชน เพื่อการจัดการชุมชนทุ่งตำเสา

Main Article Content

อุทัย ปริญญาสุทธินันท์

บทคัดย่อ

วิสาหกิจเพื่อสังคมของชุมชนทุ่งตำเสา ทั้งในรูปแบบสถาบันการเงิน สหกรณ์ และกลุ่มอาชีพ ซึ่งมีลักษณะการดำเนินกิจการเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน รวมทั้งเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจภายในท้องถิ่น แม้จะให้ผลดี แต่ก็ยังไม่สามารถสร้างผลลัพธ์ทางสังคมที่โดดเด่นได้ เนื่องจากกิจการส่วนใหญ่มีขนาดเล็กหรือเป็นธุรกิจที่อยู่ในระยะเริ่มต้น ซึ่งยังต้องการการสนับสนุน ทั้งเชิงนโยบายและแหล่งเงินทุน เพื่อทำให้เกิดการพัฒนาวิสาหกิจเพื่อสังคมอย่างต่อเนื่อง อันจักช่วยให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและคนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี

Article Details

How to Cite
[1]
ปริญญาสุทธินันท์ อ. 2018. วิสาหกิจเพื่อสังคม: การต่อยอดวิสาหกิจชุมชนและสวัสดิการชุมชน เพื่อการจัดการชุมชนทุ่งตำเสา. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 5, 2 (มิ.ย. 2018), 353–381.
บท
บทความวิจัย

References

เกรียงศักดิ์ ศรีศิลปวงศ์. 2559. การพัฒนาการบริหารจัดการสหกรณ์การเกษตรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) 8(15): 19-29.

กำจร ตติยกวี. 2558. งานวิจัยกับการพัฒนาประเทศ. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 3(1): 1-4.

ขวัญกมล ดอนขวา และ ณัชชา ลิมปศิริสุวรรณ. 2558. โมเดลเชิงสาเหตุและผลของกระบวนการเศรษฐกิจชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารสมาคมนักวิจัย 20(2): 127-137.

ขัตติยา ขัติยวรา. 2558. การถ่ายทอดความรู้เรื่องแผนธุรกิจเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนของกลุ่มอาชีพหัตถกรรม ชุมชนปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 3(3): 261-269.

จิระพงค์ เรืองกุน. 2556. บทบาทเชิงกลยุทธ์ของนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ในการขับเคลื่อนความรับผิดชอบต่อสังคมให้ประสบความสำเร็จ. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 13(1): 153-163.

จำนง ค์ แรกพินิจ. 2551. วิสาหกิจชุมชนกับการแก้ปัญหาความยากจนในชนบทไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ 3(1): 75-87.

ดลฤดี จันทร์แก้ว และ วิรินดา สุทธิพรม. 2559. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้องค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านเกษตรกรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 4(2): 188-199.

ตุนท์ ชมชื่น และ จักรพันธ์ ชัยทัศน์. 2559. การผลิตด้วยทุนวัฒนธรรมกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในเขตสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 4(1): 18-31.

ตุนท์ ชมชื่น และ สมชาย ใจบาน. 2558. การเสริมสร้างศักยภาพการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน “ผ้าทอกะเหรี่ยง” ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีชุมชนตำบลแม่ยาว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 3(2): 203-214.

ทศพร ศิริสัมพันธ์. 2556. ชุมชนเข้มแข็ง สังคมน่าอยู่ เศรษฐกิจยั่งยืน ด้วยงานวิจัย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 1(2): 1-5.

นุกูล พิกุล และ ญาตาวีมินทร์ พืชทองหลาง. 2556. การวางแผนกลยุทธ์การตลาดแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาธุรกิจชุมชนของกลุ่มผู้ผลิตตุ๊กตา อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 1(3): 141-151.

นิศรา จันทร์เจริญสุข. 2558. แนวทางการจัดการความรู้ของธุรกิจชุมชนบ้านกิ่วแลน้อยและบ้านกิ่วแลหลวง อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 3(1): 49-56.

บุษบา อารีย์ ประเวทน์ แสนยอง และ อุดม อมยิ้ม. 2557. การพัฒนาศักยภาพโดยใช้เทคนิคบัญชีบริหารเพื่อเพิ่มรายได้ของวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์บ้านโป่งอาง ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 2(1): 49-61.

ประสพชัย พสุนนท์. 2558. ปัญหาการดำเนินงานของสหกรณ์การเกษตรในประเทศไทย : ทฤษฎีฐานรากจากข้าราชการของกรมส่งเสริมสหกรณ์และกรมตรวจบัญชีสหกรณ์. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) 7(13): 85-101.

ประทีป พืชทองหลาง และ อภิริยา นามวงศ์พรหม. 2556. รูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มผู้ผลิตโคมล้านนา ชุมชนเมืองสาตร อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 1(3): 129-139.

ปิยะนารถ สิงห์ชู. 2557. ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 14(2): 121-128.

ปิยะนุช สินันตา และ พิกุล สุรพรไพบูลย์. 2557. การจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการผลิตกาแฟและคุณภาพของกาแฟ ชุมชนบ้านสันเจริญ ตำบลผาทอง อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 2(3): 325-331.

พรรณนุช ชัยปินชนะ. 2557. การพัฒนาระบบการจัดทำบัญชีครัวเรือนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลหนองป่าครั่ง อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 2(1): 37-48.

พรรณนุช ชัยปินชนะ. 2559. การพัฒนาการจัดการการเงินของกลุ่มผักอินทรีย์ ตำบลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 4(1): 84-97.

พุทธมน สุวรรณอาสน์. 2556. การพัฒนาศักยภาพด้านบัญชีการเงินของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มตัดเย็บบ้านดอกแดง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 1(1): 43-52.

พิพัฒน์ นนทนาธรณ์. 2558. บทบาทของซีเอสอาร์และวิสาหกิจเพื่อสังคมกับการแก้ปัญหาสังคม. วารสารพัฒนาสังคม 17(2): 13-34.

ไพศาล มุ่งสมัคร, ถนอมศักดิ์ สุวรรณน้อย, สรชัย พิศาลบุตร, และ ศิวะศิษย์ ช่ำชอง. 2556. รูปแบบการจัดการที่ประสบผลสำเร็จของกลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์สมุนไพร กลุ่มจังหวัดนครชัยบุรินทร์. วารสารสมาคมนักวิจัย 18(3): 115-123.

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. 2552. คำพ่อสอน: ประมวลพระบรมโชวาทและพระราชดำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 4. ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 242 หน้า.

รพีพรรณ ฉัตรเลิศยศ. 2556. CSR: กลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์ขององค์การ. วารสารนักบริหาร 33(2): 3-9.

ศตวรรณ พิกุล และ ญาตาวีมินทร์ พืชทองหลาง. 2556. ทุนทางปัญญาและผลิตภัณฑ์ชุมชนของชุมชนบ้านกิ่วแลน้อย อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 1(3): 153-161.

ศักดิ์ดา ศิริภัทรโสภณ. 2558. การศึกษากรอบแนวคิดเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจเพื่อสังคมในประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย 20(2): 30-47.

สัญชัย ลั้งแท้กุล และ เจษฎา นกน้อย. 2559. การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมการผลิตข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุงระดับขั้นเกษตรกรและกลุ่มวิสาหกิจแปรรูป. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 4(1): 32-44.

สุขสวรรค์ คำวงศ์ และ เมตตา ตาละลักษณ์. 2557. การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน โดยใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 2(3): 305-311.

สุดเฉลิม ศัสตราพฤกษ์ และ ไพศาล บรรจุสุวรรณ์. 2558. ธรรมาภิบาลเพื่อการจัดการและการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 3(3): 271-283.

สุปราณี จันทร์ส่ง บุญทัน ดอกไธสง สอาด บรรเจิดฤทธิ์ และ บุญเรือง ศรีเหรัญ. 2559. นโยบายการพัฒนาทุนทางสังคมเพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็ง. วารสารการเมืองการปกครอง 6(1): 313-327.

สุพรรณี ไชยอำพร. 2558. การติดตามประเมินผลการบูรณาการเครือข่ายเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชน. วารสารพัฒนาสังคม 17(2): 69-86.

สุกัญญา ดวงอุปมา. 2557. แนวทางการพัฒนาศักยภาพการจัดการที่ดีของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 2(2): 133-139.

เสกศักดิ์ จำเริญวงศ์. 2557. ความสัมพันธ์ระหว่างบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคมกับผลกระทบที่มีต่อมูลค่าร่วมของกิจการ : กรณีประเทศไทย. วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน 21(2): 150-175.

อาทิตย์ บุดดาดวง และ สุพรรณี ไชยอำพร. 2555. ความสามารถในการนำทุนทางสังคมออกมาใช้ของชุมชนบ้านบางไพร อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารสมาคมนักวิจัย 17(1): 29-41.

อุทัย ปริญญาสุทธินันท์. 2558. การจัดการชุมชน : มโนทัศน์และทฤษฎีที่จำเป็นต้องทบทวน. วารสารการจัดการสมัยใหม่ 13(2): 11-21.

อุทัย ปริญญาสุทธินันท์. 2559ก. “สวัสดิการชุมชน” ความสมดุลระหว่างการให้และการรับ. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 4(3): 327-336.

อุทัย ปริญญาสุทธินันท์. 2559ข. การพัฒนาชุมชน: ประเด็นทบทวนในสังคมที่เปลี่ยนแปลง. วารสารพัฒนาสังคม 18(1): 123-141.

อุทัย ปริญญาสุทธินันท์. 2559ค. ภาวะผู้นำ จุดเปลี่ยนชุมชน. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย 8(2): 189-229.