วิชาการรับใช้สังคมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก: กรณีการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยเชิงพื้นที่ “ลานสกา” และ “ไชยา” โมเดล

Main Article Content

จรวย สุวรรณบํารุง

บทคัดย่อ

รูปแบบวิจัยเชิงพื้นที่จากงานประจำสู่งานวิชาการรับใช้สังคมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกเป็นอย่างไร วัตถุประสงค์บทความเพื่อ 1) เสนอแนวคิดการวิจัยเชิงพื้นที่จากงานประจำสู่งานวิชาการรับใช้สังคมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก และ 2) เสนอตัวอย่างของการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยเชิงพื้นที่ เนื้อหาประกอบด้วยแนวคิดการวิจัยในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก ได้แก่ งานประจำในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก  วิจัยเชิงพื้นที่  วิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชุมชน  และแนวคิดวิชาการรับใช้สังคม  โดยตัวอย่างการดำเนินการได้แก่ “ลานสกาโมเดล” ซึ่งมีการดำเนินการ 5 กิจกรรม และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง  ตลอดถึงการขยายผลเป็นงานประจำครอบคลุมพื้นที่ทั้งอำเภอ และการเป็นต้นแบบส่งต่อความรู้ด้วยการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปยัง “ไชยาโมเดล” เกิดโมเดลใหม่ที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ของอำเภอไชยาเชิงเครือข่ายของ 4 กลุ่มคนจำนวน 7 กิจกรรม โดยสรุปการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบจากการทำงานประจำเป็นงานวิจัยเชิงพื้นที่นำไปสู่การทำงานวิชาการรับใช้สังคมมี  5 ขั้นตอนได้แก่ 1) ระบุปัญหาไข้เลือดออกในพื้นที่ 2) ประเมินสถานการณ์และความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคอย่างมีส่วนร่วม 3) ออกแบบการแก้ปัญหาบนบริบทของพื้นที่ 4) ประเมินผลเชิงกระบวนการและผลลัพธ์ และ 5) ถ่ายทอดเทคโนโลยีในพื้นที่อื่นๆ  

Article Details

How to Cite
[1]
สุวรรณบํารุง จ. 2019. วิชาการรับใช้สังคมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก: กรณีการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยเชิงพื้นที่ “ลานสกา” และ “ไชยา” โมเดล. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 7, 1 (ม.ค. 2019), 47–58.
บท
บทความปริทัศน์

References

กลุ่มงานควบคุมโรค งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช. 2557. รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา.

กาญจนา แก้วเทพ. 2559. การเขียนบทความวิจัยเพื่อสังคม Socially-engaged Scholarship: The writing of Socially-engaged research Article. กรุงเทพฯ: สถาบันคลังสมองของชาติ.

จรวย สุวรรณบำรุง. 2559. "ลานสกาโมเดล" โมเดลระบบเฝ้าระวังดัชนีลูกน้ำยุงลายเพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนจากระดับครัวเรือนถึงอำเภอ: กรณีการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน. นครศรีธรรมราช: กพลการพิมพ์. จำนวน 192 หน้า.

จรวย สุวรรณบำรุง. 2560. ไชยาโมเดล: โมเดลเครือข่ายระบบเฝ้าระวังดัชนีลูกน้ำยุงลายเพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน จากระดับอำเภอสู่จังหวัด. นครศรีธรรมราช: กพลการพิมพ์. จำนวน 226 หน้า.

ปิยะวัติ บุญ-หลง, กาญจนา แก้วเทพ, และ บวร ปภัสราทร. 2559. งานวิชาการเพื่อสังคม: หลักการและวิธีการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย. 2550. หลักการและการวิจัยเชิงคุณภาพสำหรับทางการพยาบาลและสุขภาพ. สงขลา: ชาญเมืองการพิมพ์.

ศิริพร จิรวัฒน์กุล. 2553. การวิจัยเชิงคุณภาพด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ Qualitative Research in Health Science. กรุงเทพฯ: บริษํทออฟเซ็ด ครีเอชั่น จำกัด.

สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. 2558. คู่มือวิชาการโรคติดเชื้อเดงกีและโรคไข้เลือดออกเดงกีด้านการแพทย์และสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.

สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. 2556. กระบวนการงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ แนวทางการพัฒนางานวิจัยเพื่อรับใช้สังคม. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีโนพับลิชซิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด.

Arunachalam, N., Tana, S., Espiso, F., Kittayapong, P., Abeyewickreme, W., Wai, K. T., . . . Petzold, M. 2010. Eco-bio-social determinants of dengue vector breeding: a multicountry study in urban aand periurban Asia. Bull World Health Organ, 88, 173-184. doi: 10.2471/BL.09.067892

Boyer, E. L. 1990. Scholarship Reconsidered: Priiorities of the Professoriate New York: The Carnegie Foundation for the Advancement of Teaching.

Chareonviyaphap, T., Akratanakul, P., Nettanomsak, S., & Huntamai, S. 2003. Laval habitants and distribution paterns of Aedes Aegypti (Linnaeus) and Aedes Alopictus, in Thailand. Southearst Asian J Trop Med Public Health, 34(4), 7.

Gubler, D. J. 2011. Prevention and Control of Aedes aegypti-borne Disease: Lesson learned from Past Successes and Failure. AsPac J. Mol. Biol. Biotechnol, 19(3), 111-114.

Guha-Sapir, D., & Schimmer, B. 2005. Dengue fever: new paradigms for a changing epidemiology. Emerging Themes in Epidemiology, 2(1).

Kemmis, M. S., & Mctaggart, R. (1988). The Action Reseach Planner. Australia: Deakin University Press.
Spiegel, J. M., Bonet, M., Ibarra, A.-M., Pagliccia, N., Ouellette, V., & Yassi, A. (2007). Social and environmental determinants of Aedes aegypti infestation in Central Havana: results of a case-control study nested in an intergrated dengue surveillance programe in Cuba. Tropical Medicine and International Health, 12(4), 503-510.

WHO. 1999. Prevention and control of dengue and dengue hemorrhagic fever: comprehensive guidelines. New Delhi: WHO Regional Publication, SEARO No. 29.

WHO. 2009. Dengue: Guidelines for diagnosis,Treatment, Prevention and control. Geneva, Swilzerland: WHO Library Cataloguing-in-Publication data. (Online). Available: http://www.who.int/tdr/publications/documents/dengue-diagnosis.pdf. (December 29, 2017).

WHO. 2012a. Global Strategy for Dengue Prevention and Control 2012-2020. France. WHO. (2012). Global Strategy for Dengue Prevention and Control 2012-2020. France. (Online). Available: http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/75303/1/9789241504034_eng.pdf (December 29, 2017).

WHO. 2012b. Handbook for Clinical Management of Dengue. Genewa, Switzerland: WHO Library Catagologulng-in-Publication Data. Available: http://www.wpro.who.int/mvp/
documents/handbook_for_clinical_management_of_dengue.pdf. (December 29, 2017).