การเสริมสร้าง การเสริมสร้างศักยภาพการจัดการขยะในครัวเรือนของชุมชนในเขตบริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล แม่คำน้ำลัด อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย

Main Article Content

ตุนท์ ชมชื่น
ทัศนีย์ ทุ่งวงค์

บทคัดย่อ

งานวิจัยมีจุดประสงค์เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการจัดการขยะในครัวเรือนของชุมชนในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่คำน้ำลัด  อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่าง คือ ครัวเรือนในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่คำน้ำลัด อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย จำนวน 220 ครัวเรือน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาในรูปความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ขยะในครัวเรือนกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นขยะประเภทย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหาร ผักผลไม้ การรับรู้สภาพปัญหาในเรื่องขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือนและชุมชนในระดับปานกลาง หลังจากได้เสริมสร้างศักยภาพการจัดการขยะ ครัวเรือนกลุ่มตัวอย่างมีศักยภาพในการจัดการขยะเพิ่มขึ้น ทั้งในด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขยะและสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้ถูกวิธีและมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

Article Details

How to Cite
[1]
ชมชื่น ต. และ ทุ่งวงค์ ท. 2019. การเสริมสร้าง การเสริมสร้างศักยภาพการจัดการขยะในครัวเรือนของชุมชนในเขตบริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล แม่คำน้ำลัด อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 7, 2 (พ.ค. 2019), 156–166.
บท
บทความวิจัย

References

กรมควบคุมมลพิษ. 2547. การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอย่างครบวงจร. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,
กรุงเทพมหานคร. 53 หน้า.
กรมควบคุมมลพิษ. 2557. รายงานสถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศไทย ปี พ.ศ.2556. สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพมหานคร. 106 หน้า.
นิตยา โพกลาง รำไพ การนุมารและทรนง คำวิสิทธิ์. 2560. การจัดการมูลฝอยในครัวเรือนแบบมีส่วนร่วม ชุมชนบ้านหนองคู
ตําบลนาสีนวน อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการสาธารณสุข 26 (2) 322-330.
บุญชม ศรีสะอาด. 2553. การวิจัยเบื้องต้น. สุวีริยาสาสน์ กรุงเทพมหานคร. 219 หน้า.
ปิยะดา วชิระวงศกร พัชราภรณ์ วงทวี และสุภาวดี น้อยน้าใส. 2561. การประเมินผลกระทบทางสุขภาพของชุมชนที่อยู่รอบสถานที่
ฝังกลบมูลฝอย เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี จังหวัดสุโขทัย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 6 (2) : 376-402.
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535. (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) สํานักพิมพสูตรไพศาล. กรุงเทพมหานคร. 32 หน้า.
ภิศักดิ์ กัลยาณมิตร และวชิรวัชร งามละม่อม. 2561. แนวทางการพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 5 (1) 172-193.
มงคลกร ศรีวิชัย ชายแดน พิรุณเดช ธีระพงษ์ วงค์สอนและ จาตุรนต์ กาศมณี. 2557. การจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขต
พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต
2 (3) : 245-254.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลแม่คำน้ำลัด. 2558. ปัญหาขยะในชุมชนเขตบริการ. รพสต.แม่คำน้ำลัด. 10 หน้า.
ลินิน พูนผล จินดาวัลย์ วิบูลย์อุทัย และธีรยุทธ อุดมพร. 2557. การสร้างบุคคลต้นแบบในจัดการมูลฝอยโดยอาศัยแรงจูงใจให้แกนนำ
ชุมชนมีส่วนร่วม ชุมชนสามัคคีธรรม เทศบาลตำบลด่านขุนทด อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา. วารสารเกื้อการุณย์.
21 (1) : 70- 83.
ศุภษร วิเศษชาติ สมบัติ ศิลา และ สุนิศา แสงจันทร์.2560. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอยของประชาชนชุมชนที่ 2
เทศบาลเมืองวังน้าเย็น จังหวัดสระแก้ว.วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 5 (2) : 422-433.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. 2542. การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจในชนบท. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กรุงเทพมหานคร. 62 หน้า.
อัญญาลักษณ์ ไชยพงษ์และ พิมาน ธีระรัตน สุนทร. 2558. การศึกษาระบบการจัดการ : ขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลท่าศาลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารอนามัยและสิ่งแวดล้อม. 17 (2): 29-43.
เอกวิทย์ ณ ถลาง. 2544. ภูมิปัญญาชาวบ้านกับกระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวของชาวบ้าน. อมรินทร์, กรุงเทพมหานคร. 55 หน้า.
Krejcie, Robert V. and Daryle W. Morgan. 1970. Determining Sampling Size for Research Activities. Journal of
Education and Psychological Measurement. 30. 607-610.