ปัจจัยที่ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือของงบการเงินของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในมุมมองของนักวิเคราะห์สินเชื่อ

Main Article Content

ชนม์นภา ทับพรหม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือของงบการเงินของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) รวมทั้งเพื่อศึกษาถึงระดับความน่าเชื่อถือของงบการเงินของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในมุมมองของนักวิเคราะห์สินเชื่อ งานวิจัยใช้แบบสอบถามและวิเคราะห์กลุ่มเจ้าหน้าที่ สายงานสินเชื่อของธนาคารต่าง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 321 คน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านผู้ประกอบการ ปัจจัยด้านระบบบัญชี ปัจจัยด้านบทบาทของ องค์กรทางวิชาชีพบัญชี มีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกกับความน่าเชื่อถือของงบการเงินของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในมุมมองนักวิเคราะห์สินเชื่อ นอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านผู้ทำบัญชี และปัจจัยด้านจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีมีความสัมพันธ์กันในเชิงลบกับความน่าเชื่อถือของงบการเงินของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในมุมมองนักวิเคราะห์สินเชื่อ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ภาษาไทย
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2549). ผู้ทำบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547. สืบค้นจาก https://www.dbd.go.th/ewt_news.php?nid=1082& filename=law.
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2557). ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กําหนดคุณสมบัติและเงื่อนไขของการเป็นผู้ทําบัญชี พ.ศ. 2557. สืบค้นจาก https://www.dbd.go.th/download/article/article_ 20140915104736.pdf
กองบริหารภาษีธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก. (2561). ลักษณะของ SMEs. สืบค้นจาก https://www.rd.go.th/publish/38056.0.html.
จุลีพร เหล่าธนากิจ. (2549). การพัฒนาระบบสารสนเทศทางการบัญชีสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กรณีศึกษา: ธุรกิจตัวแทนจัดจ้างการเดินทาง. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชนิกา อรุณวัฒนา. (2547). การศึกษาความคิดเห็นของผู้สอบบัญชีและผู้ช่วยผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับรูปแบบและมูลเหตุจูงใจของการตกแต่งบัญชีในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชูศรี เที้ยศิริเพชร. (2553). การศึกษาเปรียบเทียบข้อบังคับสำหรับนักวิชาชีพบัญชีระหว่างประเทศไทย ประเทศสิงค์โปร และประเทศอินเดีย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 15 (1), 51-68.
โชคชัย อิทธิวิบูลย์. (2546). ผลกระทบจากพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ที่มีต่อความคาดหวังในมาตรฐานการจัดทำบัญชีของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนและบริษัทจำกัดขนาดย่อมในกรุงเทพมหานคร. (งานวิจัยปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธกานต์ ชาติวงค์. (2550). ผลกระทบของจริยธรรมธุรกิจและวัฒนธรรมองค์กรที่มีต่อคุณภาพงบการเงินของ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณทิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ธนาคารแห่งประเทศไทย (2550). การเข้าถึงแหล่งเงินทุนของ SMEs: กรณีศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/NorthEastern/DocLib_Research/02-SMEs%20NE.pdf
ธนิยา นฤนาทชีวิน, เอมร กิตติคุณงาม, และ จิรานันท์ สุระยศ. (2547). การศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะของผู้ที่เกี่ยวข้องต่อการปฏิบัติงานจริงของผู้สอบบัญชีภาษีอากร: เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (งานวิจัย). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปุญญ์วีร์ ปูชะพันธ์. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นของงบการเงินในมุมมองของผู้สอบบัญชีกรณีศึกษาผู้สอบบัญชีในสำนักงานบัญชีขนาดใหญ่ (Big 4) และผู้สอบบัญชีในสำนักงานบัญชีขนาดย่อมและอิสระในเขตกรุงเทพมหานคร. (การศึกษาด้วยตนเองปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรพนม ศรีวิชัย. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้ของนักบัญชีกับคุณภาพกำไรของธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในเขตภาคตะวันออกเฉียง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ภคินี อริยะ, (2547). การศึกษาการตกแต่งงบการเงินที่มีผลกระทบต่อคุณภาพผลกำไร: กรณีศึกษากลุ่มสถาบันการเงินที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (การค้นคว้าอิสระปริญญา มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รุ่งฟ้า ยิ่งจรัสแสงและคณะ (2545). การเลือกใช้บริการสำนักงานบัญชีในการจัดทำบัญชีของธุรกิจในจังหวัด พิษณุโลก. (โครงการวิจัยปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วราภรณ์ ตันติยุทธ. (2549). ความคาดหวังของผู้ใช้งบการเงินต่อผู้สอบบัญชี. (การศึกษาด้วยตนเองปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2559). บริหารจัดการ SMEs ด้วยบัญชี. วารสารวิชาชีพบัญชี, 12 (36), 85-92.
สภาวิชาชีพ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2561). ข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชีว่าด้วยจรรณยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2561. สืบค้นจาก https://www.tfac.or.th/upload/9414/5HnUcQr4Rn.PDF
สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs). (2550). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. สืบค้นจาก https://www.sme.go.th/upload/mod_ download/
สิริลักษณ์ สมประสงค์, พรพจน์ อิทธิวามีธรรม, ประวิทย์ อนันต์คูศรี และ บัวรัตน์ ศรีนิล. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการพิจารณาสินเชื่อของสถาบันการเงินให้กับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุภาพร กุศลสัตย์. (2550). การนำมาตรฐานการบัญชีสำหรับกิจการขนาดกลางและขนาดย่อมมาใช้ในประเทศไทยในมุมมองของผู้สอบบัญชี. (การศึกษาด้วยตนเองปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อรกานต์ ผดุงสัจจกุล. (2544). ความแตกต่างของคุณภาพงานสอบบัญชีระหว่างสำนักงานสอบบัญชี Big 4 และ Non-Big 4 สามารถบอกลักษณะของลูกค้าได้หรือไม่: หลักฐานจากบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (การศึกษาด้วยตนเองปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อรจิรา ปัญจะเทวคุปต์ (2549). การตกแต่งบัญชีเพื่อประโยชน์ทางภาษีเงินได้นิติบุคคลผ่านบัญชีรายจ่าย. (การศึกษาด้วยตนเองปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ภาษาอังกฤษ
Arachi, G., & Santoro, A. (2007). Tax Enforcement for SMEs: Lessons from the Italian Experience?. Retrieved from https://www.austlii.org/au/journals/eJItaxR/ 2007/10.pdf
Bass, T., & Schrooten, M. (2006). Relationship Banking and SMEs: A Theoretical Analysis. Retrieved from https://www.papers.ssm.com/sol3/papers.cfm? abstract_id=788344
Breen, J., Sciulli, N., & Calvert, C. (2003). The Role of the External Accountant in Small Firms. Retrieved from https://www.cric.com.au/seaanz/Resources/1BreenScuiliCalvert.pdf
Dye, R. A. (1993). Discussion: Limiting auditors' liability. Journal of Economics & Management Strategy, 2(3), 435-443.
Khurana, I. K., & Raman, K. K. (2004). Litigation risk and the financial reporting credibility of Big 4 versus non-Big 4 audits: Evidence from Anglo-American countries. The Accounting Review, 79(2), 473–495.
Lawrence, A., Minutti-Meza, M., & Zhang, P. (2011). Can Big 4 versus Non-Big 4 Differences in Audit-Quality Proxies Be Attributed to Client Characteristics? The Accounting Review, 86(1), 259–286.
Lennox, C.S. (1999). Audit Quality and Auditor Size: An Evaluation of Reputation and Deep Pockets Hypotheses. Journal of Business Finance and Accounting, 26(7–8), 779–805.
Mahmood, S. (1998).Corporate Governance and Business Ethics for SMEs in Developing Countries: Challenges and Way Forward. Retrieved from https://www.kantaji.com/files/companies/ w111.pdf
Martins, R. A., & Salerno, M. S. (1999). Performance measurement systems in SMEs: A Review for a research agenda. Retrieved from https://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/j.1468-2370.2005.00105.x/full#b5
Van Caneghem, T., & Van Campenhout, G. (2012). Quantity and quality of information and SME financial structure. Small Business Economics, 39(2), 341-358.