รูปแบบการรณรงค์เพื่อส่งเสริมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ในโรงงานเฟอร์นิเจอร์ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

Main Article Content

วารุณี บุญสม
ณรงค์ ณ เชียงใหม่
จิติมา กตัญญู

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารท้องถิ่นตามความ คิดเห็นของประชาชนในเขตอำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร และเพื่อเปรียบเทียบระดับความ คิดเห็นของประชาชนที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่มี สิทธิเลือกตั้งในเขตอำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 400คน และนำข้อมูลที่ได้มา วิเคราะห์โดยใช้ค่าสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า

1. ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารท้องถิ่นพบว่า โดยภาพรวมอยู่ ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการบริหารงาน รองลงมาได้แก่ ด้านความเป็นผู้นำ และด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านบุคลิกภาพ ตามลำดับ

2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารท้องถิ่น ที่ง 4 ด้าน จำแนกตามเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ พบว่า ระดับความคิดเห็นของประชาชนในด้าน เพศ อายุ มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ด้านการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงานและรายได้ พบว่า มีระดับ ความคิดเห็นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารท้องถิ่นในด้านการ บริหารงาน ด้านความเป็นผู้นำ ด้านจริยธรรม และด้านบุคลิกภาพแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5

 

Abstract

The purpose of this research was to study and to modify the model of a campaign to promote the use of personal protective equipment at the furniture factories in Ban Klang Sub District, Muang District, Lamphun province. The sample consisted of 12 factory and 125 factory workers. The data was collected by group discussions, interviews, and questionnaires delivered and completed before and after the implementation. Data collected measured was measured in terms of percentage, average rate, standard deviation, and t-test.

The results of the study revealed that after using the modeling campaign program for promotion of personal protective equipment, the average score of the knowledge, the danger perception, and the perceived benifits of using personal protective equipment were higher than the previous campaign. However, the behavior in the use of personal protective equipment before and after the campaign had not changed.

Article Details

Section
Academic Articles