ข้อจำกัดของกำรคัดกรองและกำรตรวจมะเร็งเต้ำนมด้วยแมมโมแกรม The limitation of mammogram for screening and detecting breast cancer

Main Article Content

กุลนาถ มากบุญ

บทคัดย่อ

แมมโมแกรม (mammogram) คือ เครื ่องมือทางเอกซเรย์ชนิดหนึ ่งที ่ช่วยในการตรวจวินิจฉัยและตรวจคัดกรองหามะเร็งเต้านมและยังเป็นเครื่องมือมาตรฐานสากลที่ใช้อยู่ในปัจจุบันอย่างแพร่หลายทั่วโลกในช่วงระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมา ค่าที่ได้จากแมมโมแกรมจะถูกคำนวณออกมาในรูปของเปอร์เซ็นต์ของความหนาแน่นของเนื้อเยื่อเต้านม (percent density) ซึ่งเป็นสัดส่วนของพื้นที่ที่มีความหนาแน่นของเต้านมต่อพื ้นที ่ทั ้งหมดของเต้านม ค่านี ้เป็นตัวบ่งบอกถึงปัจจัยเสี ่ยงทีมีผลต่อการเกิดมะเร็งเต้านม ตลอดระยะเวลาที ่ผ่านมา แมมโมแกรมเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์มากในการที่ช่วยให้กลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดมะเร็งเต้านมและประชาชนทั่วไป ได้มีโอกาสในการเฝ้าระวังรวมถึงช่วยในการค้นพบมะเร็งเต้านมก่อนที ่จะเข้าสู่ระยะลุกลามของโรค ซึ ่งการทำแมมโมแกรมนี ้ก็ได้ช่วยชีวิตผู้คนไว้มากมายพบว่าการตรวจด้วยแมมโมแกรมนั้นมีความคลาดเคลื่อนในการที่ใช้ทำนายการเกิดมะเร็งเต้านม ซึ่งข้อผิดพลาดที่พบนั้นเกิดขึ้นกับ
ผู้หญิงที ่มีภาวะความหนาแน่นของเนื ้อเยื ่อเต้านม (dense breast) หรือในส่วนที ่ทึบแสงหรือเป็นสีขาวบนฟิล์มเอกซเรย์ของแมมโมแกรม แต่รายงานผลการตรวจกลับไม่พบสิ่งผิดปกติ ทั้งๆ ที่มีมะเร็งเต้านมแฝงอยู่ จากการรวบรวมข้อมูลในสหรัฐอเมริกาพบว่า 13% ของผู้ที่พบความหนาแน่นของเนื้อเยื่อเต้านม และเป็นมะเร็ง แต่รายงานผลการตรวจกลับไม่พบภาวะผิดปกติของเต้านมหรืออีกนัยหนึ่งคือ การตรวจด้วยแมมโมแกรมยังมีจุดอ่อนในการตรวจมะเร็งเต้านมในผู้หญิงที่มีความหนาแน่นของเนื้อเยื่อเต้านม ทำ ให้ต้องมีการพัฒนาวิธีการตรวจ หรือมาตรฐานสำหรับการตรวจหามะเร็งเต้านมเพื ่อที ่จะแก้ไขปัญหาที ่เกิดจากความผิดพลาดของการทำแมมโมแกรม วิธีการหลัก 3 วิธี ที่ใช้ร่วมกับการทำแมมโมแกรม ในกรณีที่ผู้เข้ารับการตรวจมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ร่วมด้วยตามเกณฑ์ที่กำหนด เพื่อที่จะแก้ไขข้อบกพร่องของการตรวจด้วยแมมโมแกรมเพียงอย่างเดียวได้แก่ การตรวจเอกซเรย์ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) การตรวจด้วยอัลตราซาวด์และเทคโนโลยีล่าสุดคือการทำแมมโมแกรมสามมิติ (tomosynthesis) ซึ่งในแต่ละเทคนิคจะมีข้อดีข้อเสียต่างกันไป ในการที ่จะเลือกวิธีการตรวจเพิ ่มเติมจึงต้องขึ ้นกับข้อกำหนดที ่เป็นมาตรฐานสากลทางการแพทย์ รวมถึงเรื ่องของผลดี ผลเสีย และต้นทุนประสิทธิผลของวิธีการดังกล่าว ดังนั ้นบุคลากรทางการแพทย์จึงต้องให้ข้อมูลที ่ถูกต้องแก่ผู้ที ่มารับบริการเพื ่อใช้ในการตัดสินใจที ่เหมาะสมและได้ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ที่มารับบริการนั่นเอง

Abstract
The limitation of mammogram for screening and detecting breast cancer
Kunlanat Makboon*


At present, mammogram is an image from a x-ray device for breast screening with the purpose of detectingbreast cancer. It is a standard technique for breast examination that is used worldwide for 20 years. Mammogram is reported in percent density which is a proportion of the area of dense breast to the whole breast area. Breast density is suspicious for breast cancer. Women with dense breasts have a 4 to 6 fold increased risk of developing
breast cancer. Mammogram is useful not only in high risk but also in general populations. However, mammographic  density still has some limitations. This is the area x-rays cannot permeate; therefore it appears white on the image. It may be difficult to detect breast cancer in women with dense breast resulting in false medical reports. In the U.S 13% of women with dense breasts were underreported of breast cancer. This limitation leads to the development of additional methods along with mammography. Three techniques are acceptedand issued in the protocol for breast examination: magnetic resonance imaging (MRI), ultrasound and a recent technique—tomosynthesis or 3D mammogram. Each technique has both advantage and disadvantage. In order to apply the adequate examination, a standard procedure should be considered including risk, benefit and cost effectivenes. Consequently, healthcare providers should provide the right information to the patients so they can make a decision on basis of the appropriateness and individual benefit of their own situation.

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ