A Development of Web-Based instruction on Cooperative Learning Through Jigsaw Technique on Data Communication for Grade 10 Students

Main Article Content

ประภาพรรณ แก้วเหมือน
บุญจันทร์ สีสันต์
ทนงศักดิ์ โสวจัสสตากุล

Abstract

The objectives of this study were to develop a cooperative learning web-based instruction (WBI) through Jigsaw technique on Data Communication for Grade 10 students and to compare learning achievement of the student before and after learning with the instruction. The sample of the studied comprised 36 Grade 10 students at Nonsiwitthaya School, selected by cluster random sampling method. The research instruments were a cooperative learning web-based instruction through Jigsaw technique on Data Communication, a web-based instruction assessment form and a learning achievement test on Data Communication with the Difficulty Index = 0.37-0.80, Discrimination = 0.20-0.63 and Reliability = 0.81. The data were analyzed by using percentage, arithmetic mean, standard deviation and t-test for dependent samples.


The results showed that the content quality and media production quality of the cooperative learning WBI through Jigsaw technique on Data Communication were at a high level with efficiency E1/E2 = 84.68/84.35, and the students showed significantly higher learning achievement after learning with   the developed WBI (0.05).

Article Details

How to Cite
แก้วเหมือน ป., สีสันต์ บ., & โสวจัสสตากุล ท. (2015). A Development of Web-Based instruction on Cooperative Learning Through Jigsaw Technique on Data Communication for Grade 10 Students. Journal of Industrial Education, 14(3), 173–179. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/123830
Section
Research Articles

References

[1] นรินทร์ กระพี้แดง. 2542. ผลการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคจิกซอว์ที่มีทักษะการทำงานร่วมกันและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบอบประชาธิปไตยในรายวิชา ส 402 สังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

[2] มนต์ชัย เทียนทอง. 2548. การออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์สำหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

[3] สนอง อินละคร. 2544. เทคนิควิธีการและนวัตกรรมที่ใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง. อุบลราชธานี: อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์.

[4] ไพโรจน์ ตีรณธนากล ไพบูลย์ เกียรติโกมล และเสกสรร แย้มพินิจ. 2542. เทคนิคการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

[5] ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ. 2542. ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

[6] Bloom, B.S. 1976. Human Characteristics and School Learning. New York: McGraw – Hill Book Company.

[7] ศิรินภา พรมสอน. 2556. การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

[8] สิริมาศ ราชภักดี. 2550. ผลการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนโดยใช้การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD และเทคนิค TGT เรื่อง เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ช่างไม้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิด เชิงวิพากษ์วิจารณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีเพศต่างกัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

[9] จิรภรณ์ รักกิจเกษตร. 2547. กระบวนการในชั้นเรียน และความสามารถในการสร้างชิ้นงานในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ด้วยวิธี เรียนรู้ร่วมกันเรื่อง อาหารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

[10] มาณี คุสิตา. 2555. การพัฒนาบทเรียนออนไลน์สำหรับการเรียนแบบร่วมมือ เรื่อง หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชำนาญสามัคคีวิทยา. วารสารครุศาสตร์อุสาหกรรม, 11 (1), น.59-67.