การพัฒนาโปรแกรมการจัดการความเจ็บป่วยตนเองต่อความสามารถในการดูแลตนเอง ของผู้ป่วยโรคจิตเภท

Main Article Content

อัญชลี วิจิตรปัญญา
สุนันทา พลเดชาสวัสดิ์
ณัฏฐพัชร สุนทโรวิทย์

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาโปรแกรมการจัดการความเจ็บป่วยตนเองต่อความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคจิตเภท และทดสอบประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการจัดการความเจ็บป่วยตนเองต่อความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคจิตเภท


วิธีการศึกษา: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยใน โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์ จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มได้รับโปรแกรมการจัดการความเจ็บป่วยตนเองต่อความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคจิตเภท  30 คน และกลุ่มได้รับการดูแลตามปกติ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคจิตเภท วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบที (t - test)


ผลการศึกษา: พบว่า1. โปรแกรมการจัดการความเจ็บป่วยตนเองต่อความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่พัฒนาขึ้น มีค่า IOC เท่ากับ 1.0 2. ผู้ป่วยที่เข้าร่วมโปรแกรมการจัดการความเจ็บป่วยตนเองต่อความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคจิตเภท มีพฤติกรรมการดูแลตนเองสูงกว่าผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ < .001 ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า โปรแกรมการจัดการความเจ็บป่วยตนเองต่อความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคจิตเภท สามารถช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคจิตเภทแสดงพฤติกรรมการดูแลตนเองได้ดีขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชดช้อย วัฒนะ. (2558). การสนับสนุนการจัดการตนเอง: กลยุทธ์ในการส่งเสริมการควบคุมโรค. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, 26(1), 117-127.

เปรมฤดี ดำรักษ์, ผุสนีย์ แก้วมณีย์, พัชรินทร์ คมขำ และสุนันทา เศรษฐวัชราวณิช. (2548). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. รายงานการวิจัย.วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ยะลา.

มยุรี กลับวงษ์. (2550). การสร้างแบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคจิตเภท. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมรัก ชูวานิชวงศ์, ณัฐกานต์ ใจบุญ, วีรี แดงประเสริฐ, และคณะ.(2559). ประสบการณ์การคืนสู่สุขภาวะ (Recovery) ของผู้ป่วยโรคจิตเภทไทย. วารสารสุขภาพภาคประชาชน, 12(2), 8-21.

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์. (2555). คู่มือมาตรฐานกลางประเมินความสามารถตามประเภทความพิการและให้รหัส ICF. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข.

Canadian Mental Health Association. (2011). Schizophrenia society of Ontario. Retrieved July 20, 2016 from www.mcss. gov.on.ca.

Cemalovic, N. (2011). Evaluation of working capacity in case of mental disorders. Medical Archives, 65(5), 304-305.

Chi Chan, S., Li, Z., Klainin-Yobas, P., Ting, S., Chan, M., &Wai Eu, P. (2014). Effectiveness of a peer - leed self - management program for people with schizophrenia: protocol for a randomized controlled trial. Journal of Advanced Nursing, 70(6), 1425-1435.

Creer, T. L. (2000). Self - management of chronic illness In: M. Doekaert (Eds.) Handbook of Selfregulation. San Diego, California Academic.

Dalum, H. S., Korsbek, L., Mikkelsen, J. H., Thomsen, K., Kistrup, K., Olander, M., et al. (2011). Illness management and recovery (IMR) in Danish community mental health centers. Trails, 12(1), 195-204.

Kanfer, F. H., Gaelick - Buys, L. (1991). Self -management methods. In F. H. Kanfer, & A. Goldstein (Eds.), Self-management methods in helping people change: A textbook of methods (4thed.). (pp.305-360). New York: Pergamon Press.
Moemi, S., Kiyhoto, E., Yoshiko, Y., Shin-Ichi,

S., & Robert, P. L. (2013). Illness self -management for individuals in acute psychiatric care settings in Japan: cross cultural adaptation of an American program. Psychiatric Rehabilitation Journal, 36(4), 272-277.

Schaub, D., Brune, M., Jaspen, E., Pajonk, F. G., Bierhoff, H. W., & Juckel, G. (2011). The illness and everyday living: close interplay of psychopathological syndromes and psychosocial functioning in chronic schizophrenia. European Archives Psychiatry and Clinical Neurosciences, 261(2), 85-93.

Switaj, P., Anczewaka, M., Chrostek, A., Sabariego, C., Cieza, A., Bickenbach, J., et al. (2012). Disability and schizophrenia: A systematic review of experienced psychosocial difficulties. BMC Psychiatry, 12(193), 1-12.

Velligan, D. I. & Alphs, L. D. (2008). Negative Symptoms in Schizophrenia: The Importance of Identification and Treatment. Psychiatric Times. Retrieved July 20, 2016 from www.psychiatrictimes. com

World Health Organization. (2008). The global burden of disease: 2004 update. Geneva: World Health Organization