การพัฒนาและทดสอบความตรงเชิงโครงสร้าง ของแบบประเมินอาการซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าไทย

ผู้แต่ง

  • รังสิมันต์ สุนทรไชยา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ธรณินทร์ กองสุข โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
  • สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • วาสินี วิเศษฤทธิ์ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สุพัตรา สุขาวห โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
  • จินตนา ลี้จงเพิ่มพูน โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์

คำสำคัญ:

แบบประเมินอาการซึมเศร้า, ผู้สูงอายุ, โรคซึมเศร้า

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและทดสอบคุณสมบัติความตรงเชิง โครงสร้างของแบบประเมินอาการซึมเศร้าของ ผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าไทย

วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เป็นผู้สูงอายุที่ได้รับการวินิจฉัย เป็นโรคซึมเศร้า จากโรงพยาบาลของรัฐทั้ง 4 ภาค จำนวน 40 คน กลุ่มที่ 2 เป็นผู้สูงอายุที่ได้รับการ วินิจฉัยโรคซึมเศร้าจากโรงพยาบาลของรัฐทั้ง 4 ภาคและผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง จำนวน 390 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบประเมินอาการซึมเศร้า สำหรับผู้สูงอายุที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิง เนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.73 ภายหลังการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ข้อมูลโดยวิเคราะห์ความตรงเชิงโครงสร้างโดย วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ด้วย โปรแกรมวิเคราะห์สถิติสำเร็จรูป Mplus

ผลการศึกษา: แบบประเมินอาการซึมเศร้า ของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าไทย ที่พัฒนาขึ้นมี  ข้อคำถามจำนวน 16 ข้อ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ 1) ความซึมเศร้า มีข้อคำถาม 12 ข้อ มีค่าน้ำหนักตัวประกอบอยู่ระหว่าง 0.431- 0.784 และ 2) ความคิดฆ่าตัวตาย มีจำนวน ข้อคำถาม 4 ข้อ มีค่าน้ำหนักตัวประกอบอยู่ระหว่าง 0.451-0.933 วิ เคราะห์ ความเที่ ยงได้ ค่าสั มประสิ ทธิ์ แอลฟาครอนบาคเท่ากับ 0.95

สรุป: องค์ประกอบความซึมเศร้าและ ความคิดฆ่าตัวตาย เป็นองค์ประกอบสำคัญของ แบบประเมินอาการซึมเศร้าของผู้สูงอายุไทย นอกจากนั้น ข้อคำถามเป็นข้อความภาษาที่ใช้บ่อย ตามมุมมองของผู้สูงอายุไทย อย่างไรก็ตาม เครื่องมือฉบับนี้ ต้องการปรับปรุงและตรวจสอบ คุณภาพทางจิตวิทยาด้านอื่น ๆ ต่อไป

References

ธรณินทร์ กองสุข และคณะ. (2549). การประเมิน โรคซึมเศร้า: การทบทวนหลักฐานทาง วิชาการ. อุบลราชธานี: ศิริวรรณออฟเซ็ท.

ธรณินทร์ กองสุข และคณะ. (2557). แนวทางการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าระดับจังหวัด ฉบับ ปรับปรุงครั้งที่ 3. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

สังคม ศุภรัตนกุล. (2557). เอกสารประกอบการ สอนวิชา ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติขั้นสูง. สำนักงานโครงการบัณฑิตศึกษา: มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี.

สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล, พุนศรี รังสีขจี, นิรมล พัจนสุนทร, สุรพล วีระศิริ, สุชาติ พหลภาคย์, และธวัชชัย กฤษณะประกรกิจ. (2549). การ พัฒนาเครื่องมือคัดกรองภาวะซึมเศร้าชื่อ Khon Kaen University Depression Inventory (KKU-DI) สำหรับคนไทยในชุมชนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารสมาคม จิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 51, 330-348.

สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล และสมพร รุ่งเรืองกลกิจ. (2553). การปรับปรุงเครื่องมือคัดกรองภาวะ ซึมเศร้า KKU-DI เพื่อให้มีความไวต่อ เพศภาวะ. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่ง ประเทศไทย, 55(2), 177-189.

วรรณี แกมเกตุ. (2557). วิธีวิทยาการวิจัยทาง พฤติกรรมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Beck, A., & Alford, B. A. (2009). Depression: causes and treatment, second edition. University of Philadelphia, PA: Pennsylvania Press.

Christensen, H., Jorm, A. F., Mackinnon A. J., Korten, A. E., Jacomb, P. A., Henderson, A. S., & Rodgers, B. (1999). Age differences in depression and anxiety symptoms: A structural equation modelling analysis of data from a general population sample. Psycho¬logical Medicine, 29(2), 325-339.

Conwell, Y., & Brent, D. (1996). Suicide and aging I: Patterns of psychiatric diagnosis. In J. L., Pearson & Y., Conwell, (Eds). Suicide: International perspectives. New York: Springer.

DeVellis, R. F. (2012). Scale development: Theory and applications (3rd ed.). Newbury Park: Sage.

Flacker, J. M., & Spiro, L. (2003). Does question comprehension limit the utility of the geriatric depression scale in older African Americans? Journal of American Geriatric Society, 51(10), 1511-1512.

Gallo, J. J., Anthony, J. C., & Muthen, B. O. (1994). Age differences in the symptoms of depression: A latent trait analysis. Journal of Gerontology, 49(6), 251-264.

Houtjes, W., van Meijel, B., Deeg, D. J. H., & Beekman, A. T. F. (2011). Unmet needs of outpatients with late-life depression: A comparison of patient, staff and carer perceptions. Journal of Affective Disorders, 134, 242–248.

Hsiao, C. Y., Lan, C. F., Chang, P. L., & Li, I. C. (2015). Development of the psychometric property of a minimum data-set based depression rating scale for use in long-term care facilities in Taiwan. Aging & Mental Health, 19(2), 129-135.

Jirapramukpitak, T., Darawuttimaprakorn, N., Punpuing, S., & Abas, M. (2009). Validation and factor structure of the Thai version of the EURO-D scale for depression among older psychiatric patients. Aging and Mental Health, 13(6), 899-904.

Kim, G., Decoster, J., Huang, C. H., & Bryant, A. N. (2013). A meta-analysis of the factor structure of the Geriatric Depression Scale (GDS): The effect of language. International of Psychogeriateics, 25(1), 71-81.

Leblanc, M. F., Desjardins, S., &, Desgagné A. (2015). Sleep problems in anxious and depressive older adults. Psychology Research and Behavior Management, 8, 161-169.

Muthen, L. K., Muthen, B. O. (2012). Mplus User’s Guide (7th ed.). Los Angeles, CA: Muthen & Muthen.

Norman, G. R., & Streiner, D. L. (1986). PDQ statistics. U.K.: Mosby.

Ponte, C., Almedia, V., & Fernandes, L. (2014). Suicidal ideation, depression and quality of life in the elderly: Study in a gerontopsy¬chiatric consultation. The Spanish Journal of Psychology, 17, E14. doi:10.1017/ sjp.2014.15.

Prince, M. J., Reischies, F., Beekman, A. T., Fuhrer, R., Jonker, C., Kivela, S. L., et al. (1999). Development of the EURO-D scale–A European Union initiative to compare symptoms of depression in 14 European centres. British Journal of Psychiatry, 174, 330–338.

Robinson, L., Smith, M., & Segal, J. (2017). Depression in older adults: Recognizing the signs of elderly depression and getting treatment. Retrieved April 2, 2017 from https://www.helpguide.org/articles/de¬pression/depression-in-older-adults. htm?pdf=true.

Roose, S. P., & Sackeim, H. A. (2004). Late life depression. Oxford: University Press.

Soonthornchaiya, R., & Dancy, B. L. (2006). Perceptions of depression among elderly Thai immigrants. Issues in Mental Health Nursing, 26(6), 681-698.

Suebwonglee, C., Sujiva, S., & Wongwanich, S. (2011). Development of a nursing caring behavior assessment instrument using the cognitive interview technique. SDU Research Journal Humanities and Social Sciences, 7(2), 127-142.

Wang, S., & Blazer, D. J. (2015). Depression and cognition in the elderly. Annual Review Clinical Psychology, 11, 331–60.

Wiersma, D. (2006). Needs of people with severe mental illness. Acta Psychiatra Scandinavica, 113(s429). https://doi.org/10.1111/j.1600- 0447.2005.00728.x

Wongpakarun, N., Wongpakarun, T., & Reekum, R. V. (2013). The use of GDS-15 in detecting MDD: A comparison between residents in a Thai long-term care home and geriatric outpatients. Journal of Clinical Medicine Research, 5(2), 101-111.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-08-07