THE COMPARISON ANGLES OF THE THORACIC, LUMBAR SPINE AND HIP INTERNAL ROTATION MOVEMENT IN THAI AMATEUR GOLF PLAYERS WITH AND WITHOUT LOW BACK PAIN

Authors

  • Yosawin Sakunkaruna Faculty of Physical therapy, Mahidol University
  • Sutida SAKUNKARUNA
  • Peemongkon WATTANANON
  • Komsak SINSURIN

Keywords:

กอล์ฟ, นักกอล์ฟมือสมัครเล่น, อาการปวดหลังส่วนล่าง, การเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลัง

Abstract

กีฬากอล์ฟมีความนิยมอย่างมากและอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในประเทศไทย เนื่องจากสามารถเล่นได้ทุกเพศ ทุกวัย และเล่นได้ตลอดทุกฤดูกาล แต่เนื่องจากกอล์ฟเป็นกีฬาที่มีการเคลื่อนไหวของร่างกายในทิศทางเดียวอย่างซ้า ๆ จึงทาให้เกิดการบาดเจ็บได้ โดยเฉพาะอาการปวดหลังซึ่งเกิดได้บ่อยและจากหลากหลายสาเหตุ การลดลงของมุมการเคลื่อนไหวก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เกิดอาการปวดหลัง งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังและการหมุนของข้อสะโพกในนักกอล์ฟไทยสมัครเล่นที่มีและไม่มีอาการปวดหลังส่วนล่าง โดยการวัดองศาการเคลื่อนไหวกระดูกสันหลังระดับอก ระดับหลังส่วนล่าง และการเคลื่อนไหวของข้อสะโพกในทิศหมุนเข้าด้านใน โดยใช้เครื่องมือ Digital Inclinometer วัดในท่า trunk flexion , trunk extension , trunk lateral flexion both sides , trunk rotation both side และ hip internal rotation ทั้ง 2 ข้าง ผู้เข้าร่วมงานวิจัยคือนักกอล์ฟไทยมือสมัครเล่นเพศชาย จานวน 39 คน อายุเฉลี่ย 48.8 ปี โดยเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่มีอาการปวดหลังจานวน 12 คน และกลุ่มที่ไม่มีอาการปวดหลังจานวน 27 คน เปรียบเทียบทางสถิติโดยใช้ Independent t-test โดยกาหนดความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ p < 0.05 ผลจากงานวิจัยพบว่า ค่าองศาการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังและข้อสะโพกระหว่างนักกอล์ฟไทยสมัครเล่นที่มีอาการและไม่มีอาการปวดหลังส่วนล่าง ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญในทุกทิศทางและทุกระดับของกระดูกสันหลังและข้อสะโพก จึงสรุปผลจากงานวิจัยได้ว่ามุมองศาการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังและมุมการหมุนของข้อสะโพก ไม่ใช่สาเหตุที่ทาให้เกิดอาการปวดหลังในนักกอล์ฟมือสมัครเล่น

(วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา 2561; 18(2): 109 - 119)
คำสำคัญ: กอล์ฟ, นักกอล์ฟมือสมัครเล่น, อาการปวดหลังส่วนล่าง, การเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลัง

References

1. Gosheger G, Liem D, Ludwig K, Greshake O, Winkelmann W. Injuries and overuse syndromes in golf. Am J Sports Med. 2003; 31(3): 438-43.
2. Terasee W, Khrisanapant W, Ishida W, Pasuriwong O, Tunkamnerdthai O. Golf injury and precautions. Srinagarind Med J. 2011: 26(4); 363-72.
3. McCarroll JR. The frequency of golf injuries. Clin. Sports Med. 1996; 15(1): 1-7.
4. Reed JJ, Wadsworth LT. Lower back pain in golf: a review. Curr Sports Med Rep. 2010; 9(1): 57-9
5. Cole MH, Grimshaw PN. The Biomechanics of the Modern Golf Swing: Implications for Lower Back Injuries. Sports Med. 2016; 46(3): 339-51.
6. McHardy A, Pollard H, Luo K. Golf-related lower back injuries: an epidemiological survey. J Chiropr Med. 2007; 6(1): 20-26.
7. Lindsay DM, Vandervoort AA. Golf-Related Low Back Pain: A review of causative factors and prevention strategies. Asian J Sports Med. 2014; 5(4): e24289
8. Tsai YS, Sell TC, Amoliga JM, Myers JB, Learman KE, Lephart SM. A comparison of physical characteristics and swing mechanics between golfers with and without a history of low back pain. J Orthop Sports Phys Ther.2010; 40(7):430-8.
9. Mayer J, Lephart S, Tsai YS, Sell T, Smoliga J, Jolly J. The role of upper torso and pelvis rotation in driving performance during the golf swing. J Sports Sci.2008; 26(2): 181-8.
10. Pichardul K, Limroongreungrat W. Kinematic of two gold swing conditions in competitively professional golfers. J Sport Sci Tech. 2016; 16(1): 1-10.
11. Reese NB, Bandy WD. Joint range of motion and muscle length testing 3nd edition. St.Louis, Missouri: Elsivier; 2017.

Downloads

Published

2018-12-24

Issue

Section

Research Article