การศึกษาผลของวิธีการสกัดและชนิดมอร์แดนท์ต่อคุณภาพของสีย้อมและการศึกษาสารในสีย้อมดอกดาวเรือง

Main Article Content

กาญจนา วงศ์กระจ่าง
ปณิธาน สุระยศ

Abstract

ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาสีเหลืองธรรมชาติจากดอกดาวเรืองในการย้อมด้ายฝ้าย สำหรับการสกัดน้ำย้อมที่ดี คือสกัดด้วยเทคนิคให้ความร้อนใช้เวลา 60 นาที และเทคนิคไมโครเวฟ ใช้เวลา 7 นาที ซึ่งเทคนิคไมโครเวฟใช้เวลาน้อยกว่า 8.57 เท่า และค่าความยาวคลื่นสูงสุด (lmax) ที่สารดูดกลืนแสงคือ 354 นาโนเมตร ดังนั้นสารประกอบทางเคมีในน้ำย้อมตรงกับสารกลุ่มฟลาโวนอยด์  สำหรับโครงสร้างของสารในน้ำย้อมที่พบคือ quercetagetin ซึ่งสารชนิดนี้โครงสร้างทางเคมี มีหมูไฮดรอกซี (-OH) จำนวน 6 หมู่ ทำให้เกิดพันธะไฮโดรเจนได้ดีและสามารถเกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับ Al3+ จากสารส้ม ดังนั้นทำให้การย้อมเส้นด้ายด้วยน้ำย้อมดอกดาวเรืองที่ใส่มอร์แดนท์มีสีเหลืองเข้มขึ้นเมื่อเทียบกับไม่ใส่

Article Details

Section
บทความวิจัย
Author Biographies

กาญจนา วงศ์กระจ่าง, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ปณิธาน สุระยศ, pibulsongkram rajabhat university

อาจารย์สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

References

กำจร แซ่เจียง. (2544). ผงสีย้อมจากกลีบดอกดาวเรือง, วิทยานิพนธ์คหกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา คหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุกานดา พรมเทพ. (2549). การศึกษาการสกัดสีย้อมธรรมชาติจากเมล็ดคำแสดโดยใช้ตัวทำละลายผสมบางชนิด. ปัญหาพิเศษ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วีราภรณ์ มิ่งเมือง (2543). การผลิตสารแซนโทฟิลจากดอกดาวเรือง. ปัญหาพิเศษ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อนันต์เสวก เห่วซึ่งเจริญ. (2543). คู่มือย้อมสีธรรมชาติฉบับชาวบ้าน สีเขียว สีน้ำตาล และสีดำเล่ม 1. เชียงใหม่, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Googwin, T.W. (1976). Chemistry and Biochemistry of Plant Pigments. New York : Academicpress Inc.

Griffiths, J. C. (2005). Coloring Food & Beverages. Food technology, 59(5), 38-44.

Guinot, P. Gargadennec, A. Valette, G. Fruchier, A. Andary, C. (2008). Primary Flavonoids in Marigold Dye: Extraction, Structure and Involvement in the Dyeing Process. Phytochem. Anal., 19, 46-51.

Kumar, J. K. Sinha, A. K. (2003). Resurgence of Natural Colourants: A Holistic View. Natural Product Letters, 18(1), 59-84.

Kaiser, R. (1993). Quantitative Analyses of Flavonoids in Yellow Dye Plant Species Weld (Reseda luteola L.) and Sawwort (Serratula tinctoria L.). Angew. Bot., 67, 128-131.

Puntener, A. Cambell, P. (2003). European Ban on Certain Azo Dyes. Leather International, 50-51.

Siva, R. (2007). Status of Natural Dyes and Dye-Yielding Plants in India. Current science, 92(7), 916-925.

Sowbhagya, H. B. Sampathu, S. Krishnamurthy, R. N. (2004). Natural Colorant from Marigold-Chemistry and Technology. Food Review International, Vol. 20(1), 33 – 50.

Watters, C. Cantero, A. (1964). Rat Liver Parenchymal Cell Function during Azo Dye Carcinogenesis. Cancer Research, 25, 67-71.

Zeb, A. Mehmood, S. (2004). Carotenoids Contents from Various Sources and Their Potential Health Application. Pakistan journal of Nutrition, 3(3), 199 – 204.