การวิเคราะห์ค่าความปลอดภัยสำหรับไม้ไผ่ใช้ในงานก่อสร้าง

Main Article Content

สุรพงษ์ ดาราม

บทคัดย่อ

ลักษณะและคุณสมบัติทางกลของไม้ไผ่ใช้ในงานก่อสร้างขึ้นอยู่กับชนิดพันธ์และสภาพไม้ไผ่ที่ใช้ทดสอบ จากผลการทดสอบค่ากำลังดัดสามารถจัดให้ไม้ไผ่สำหรับงานก่อสร้างส่วนใหญ่เป็นชนิดไม้เนื้อแข็งปานกลาง ไม้ไผ่สำหรับส่วนประกอบของอาคารควรผ่านขั้นตอนการถนอมไม้ไผ่ ค่าหน่วยแรงที่ยอมให้ของไม้ไผ่ตามชนิดไม้เนื้อแข็งปานกลางเหมาะสำหรับใช้ในการออกแบบ โดยมีค่าความปลอดภัยเฉลี่ยต่ำที่สุดเท่ากับ 7.9 การปรับปรุงค่าอัตราส่วนเพื่อคำนวณหาค่าหน่วยแรงระยะยาวสำหรับไม้ไผ่ทั่วไปตามมาตรฐาน BNBC ทำให้มีค่าความปลอดภัยเฉลี่ยต่ำที่สุดเท่ากับ 7.8

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมโยธาธิการและผังเมือง. (2552). มาตรฐานงานไม้ - มยผ.1104-52. กระทรวงมหาดไทย. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://subsites.dpt.go.th/edocument/images/pdf/sd_work /1101_0.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562].

กระทรวงมหาดไทย. (2527). กฎกระทรวงฉบับที่ 6 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคารพ.ศ. 2522. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://download.asa.or.th/03media/04law/ cba/mr27-06.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562].

กลุ่มงานแมลงและจุลชีววิทยาป่าไม้. (2562). การป้องกัน...แมลงศัตรูทำลายไม้ไผ่. สำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้. กรมป่าไม้. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://forprod.forest.go.th/ forprod/nana/PDF/Bamboo.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562].

ทศพล เมืองพรม. (2559). ศูนย์ศึกษานวัตกรรมโครงสร้างไม้ไผ่. วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีประทุม.

ธนา อุทัยภัตรากูร. (2559). โครงการออกแบบและก่อสร้างหอศิลป์ไม้ไผ่. วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. สถาบันอาศรมศิลป์.

ธวัชชัย อุ่นใจจม นฤมล มณีอินตา วรวัฒน์ ปัญญาคำ. (2060). สมบัติเชิงกลของไม้ไผ่ 5 ชนิด ที่ผ่านการอบแห่ง. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2560

นิคม แหลมสัก และอัจฉริยะ โชติขันธ์. (2550). สมบัติของลำไผ่บางชนิดซึ่งปลูกที่สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://frc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/ fforjournal/v26_special_8.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562].

บุญส่ง สมเพาะ เชาวลิตร วงศ์ศรีแก้ว นพดล สมศรี ภัทรสินี วงศ์ศรีแก้ว เทพประสิทธิ์ เทียวประสงค์ วรศิลป์ แอ๊วสกุลทอง และอรรถสิทธิ์

บุญรอด. (2558). คุณสมบัติและลักษณะโครงสร้างไม้ไผ่บางชนิด. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://forprod.forest.go.th/forprod/ Project_research58/รายงานการวิจัยปีงบประมาณ 2558/10. คุณสมบัติและลักษณะโครงสร้างไม้ไผ่บางชนิด.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562].

บุญส่ง สมเพาะ วัลยุทธ เฟื่องวิวัฒน์ ปิยะวดี บัวจงกล และวรัญญู ราษฎร์เจริญ. (2556). คุณสมบัติของไม้ไผ่บางชนิดเพื่อการก่อสร้าง. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://forprod.forest.go.th/ forprod/techtransfer/document/คลังความรู้/2. ไม้เศรษฐกิจในประเทศไทย/1. ไผ่/5.คุณสมบัติของไม้ไผ่ (Thai).pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562].

รุ่งนภา พัฒนวิบูลย์ บุญฤทธิ ภูริยากร และวลัยพร สถิตวิบูรณ์. (2544). ไม้ไผ่ในประเทศไทย. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://app.dnp.go.th/opac/multimedia/ebook/48_995/ 48_995.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562].

สำนักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์. (2555). การสำรวจไม้ไผ่ ของประเทศไทย Bamboo Inventory in Thailand พ.ศ. 2552. กลุ่มสำรวจทรัพยากรป่าไม้. ส่วนสำรวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้.กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://www.dnp.go.th/inventory/download/รายงานไผ่ทั่วประเทศ.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562].

สุทธิชา บรรจงรัตน์ และสุปรีดี ฤทธิรงค์. (2556). การศึกษาคุณสมบัติ ทางกลของพันธ์ไผ่ไทยในงานโครงสร้างเรียบง่าย. Built Environment Research Associates Conference - BERAC 4. [ออนไลน์]. ได้จาก:https://www.berac.tds.tu.ac.th/BERAC/BERAC 4/01 Building Tech 1.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562].

สุทัศน์ เล้าสกุล สภลท์ บุญเสริมสุข และสราวุธ สังข์แก้ว. (2557). ไผ่...ในสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ฯ. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://forprod.forest.go.th/forprod/techtransfer/ document/คลังความรู้/2. ไม้เศรษฐกิจในประเทศไทย/1. ไผ่/3.ป่าเล็กในเมืองใหญ่.pdf [สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562].

INBC. (2005). Part 6: Structural design, Section 3: Timber and Bamboo: 3B Bamboo. National Building Code of India. Bureau of Indian standards - BIS, New Delhi, India.

BIS. (2006). Preservation of bamboo for structural purposes – code of practice (IS 9096:2006). Bureau of Indian standards - BIS, New Delhi, India.

BNBC (2012). Part 6 Structural design, Chapter 4 Bamboo. Bangladesh National Building Code (BNBC). [Online]. Retrieved from: https://law.resource.org/pub/ bd/bnbc.2012/gov.bd.bnbc.2012.06.04.pdf [accessed 30 October 2019].

Community Architects Network. (2013). Bamboo Construction Source Book. [Online]. Retrieved from: https://www.communityarchitectsnetwork.info/upload/ opensources/public/file_14062013022345.pdf [accessed 30 October 2019].

Escamilla E. Zea. (2015). Development of Simplified Life Cycle Assessment Methodology for Construction Materials and Buildings outside of the European Context Through the Use of Geographic Information Systems. Doctor of Sciences Thesis. ETH. Zurich.

Jayanetti D. L. and Follet P. R. (1998). Bamboo in Construction: An introduction. INBAR Technical Report No. 15. TRADA and INBAR for DFID. [Online]. Retrieved from: https://naturalhomes.org/img/bamboo-in-construction.pdf [accessed 30 October 2019].

Janssen J.A. Jules. (2000). Designing and Building with Bamboo. INBAR Technical Report No. 20. INBAR. [Online]. Retrieved from: https://resource.inbar.int/ upload/file/1489455979.pdf [accessed 30 October 2019].

Rashmi Manandhar, Jin-Hee Kim & Jun-Tae Kim. (2019). Environmental, social and economic sustainability of bamboo and bamboo-based construction materials in buildings. Journal of Asian Architecture and Building Engineering.

Satish Kumar; K.S. Shukla; Tndra Dev; P.B. Dobriyal. (1994). Bamboo Preservation Techniques: A Review. INBAR Technical Report No. 3. INBAR. [Online]. Retrieved from: https://resource.inbar.int/upload/file/1489457614.pdf [accessed 30 October 2019].